หน้าแรก ข่าว ปฏิทินกิจกรรม การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5 (Advanced Engineering Workshop V)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5 (Advanced Engineering Workshop V)
20 ก.ย. 2566
0

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ทั้งการออกแบบ และสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบทางเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ซึ่งจะนำไปสู่การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่บริษัทผู้ผลิตเพื่อทำการผลิตและส่งออกในนามของสินค้าของไทย



(ร่าง) กำหนดการ
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5
(Advanced Engineering Workshop V)

จัดโดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.)
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทน.)
และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) (สซ.)
ระหว่างวันที่ 2930 กันยายน 2566
อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี


วันศุกร์ที่ 29 กันยายน 2566
ห้องประชุม 601 อาคารสราญวิทย์
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.10 น. กล่าวต้อนรับ และเปิดการประชุม

โดย ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ รองผู้อำนวยการ สวทช.

Session 1 : ความสามารถด้านวิศวกรรมของ สวทช.  และแนวทางความร่วมมือ
09.10 – 10.30 น. เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมในยานพาหนะไฟฟ้าของ สวทช.

  • เทคโนโลยีการออกแบบมอเตอร์พร้อมระบบขับเคลื่อน
    โดย ดร.บุรินทร์ เกิดทรัพย์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีการออกแบบโครงสร้างน้ำหนักเบาและการออกแบบยานยนต์ไฟฟ้า
    โดย ดร.ชินะ เพ็ญชาติ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีการออกแบบแบตเตอรี่แพ็คในยานยนต์ไฟฟ้า
    โดย ดร.มานพ มาสมทบ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีการออกแบบอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
    โดย ดร.ดวิษ กิระชัยวนิช นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • อภิปรายแนวทางความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
10.30-10.45 น.   พัก
10.45 – 12.00 น. เทคโนโลยีพลังงานเพื่อความยั่งยืน

  • เทคโนโลยี SMR และฟิวชัน พลังงานสะอาดแห่งอนาคต
    โดย ดร.นพพร พูลยรัตน์ หัวหน้าฝ่ายนิวเคลียร์ฟิวชันและพลาสมา
    ศูนย์วิศวกรรมและเทคโนโลยีนิวเคลียร์ชั้นสูง
    สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีไฮโดรเจนและเซลล์เชื้อเพลิง
    โดย ดร.วิศาล ลีลาวิวัฒน์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
    โดย ดร.อมรรัตน์ ลิ้มมณี นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีแบตเตอรี่ไฟฟ้าเคมีและการบริหารจัดการพลังงาน
    โดย ดร.ธัญญา แพรวพิพัฒน์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีซินโครตรอนกับงานวิจัยด้านวัสดุพลังงานและแบตเตอรี่
    โดย ดร.พินิจ กิจขุนทด หัวหน้าฝ่ายวิจัยประยุกต์ใช้แสงซินโครตรอน สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
  • อภิปรายแนวทางความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
12.00 – 13.30 น รับประทานอาหารกลางวัน ณ บริเวณโถงหน้าห้องประชุม 601

13.30 – 17.00 น.  เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ

อาคาร INC2

  • ศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ (NCTC)
    โดย ดร.ณฏฐพล วุฒิพันธุ์
  • ห้องปฏิบัติการทีมวิจัยเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (ESTT)
    โดย ดร.ณัฐนัย คุณานุสนธิ์

 

 NECTEC Pilot Plant และ MTEC Pilot Plant

  • ห้องปฏิบัติการทีมวิจัยเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ (SPVT)
    โดย ดร.อมรรัตน์ ลิ้มมณี
  • ห้องปฏิบัติการทีมวิจัยเทคโนโลยีกระบวนการผลิตวัสดุผง (PMPT)
    โดย นายภาณุ เวทยนุกูล(โลหะผง) และดร.สมพงษ์ ศรีมโนเสาวภาคย์ (อลูมิเนียมโฟม)
  • ห้องปฏิบัติการทีมวิจัยเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (ESTT) (ด้านการแพ็คแบตเตอรี่)
    โดย ดร.มานพ มาสมทบ
  • ห้องปฏิบัติการกลุ่มวิจัยพลังงานคาร์บอนต่ำ (LCRG) (ด้าน Hydrogen Fuelcell)
    โดย ดร.วิศาล ลีลาวิวัฒน์
  • ห้องปฏิบัติการทีมวิจัยวิศวกรรมน้ำหนักเบา (LWET)
    โดย ดร.ชินะ เพ็ญชาติ

 

อาคาร PTEC ใหม่

  • ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC)
    โดย ดร.ไกรสร อัญชลีวรพันธ์
วันเสาร์ที่ 30 กันยายน 2566
ห้องประชุมออดิทอเรียม อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิริธร
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.10 น. กล่าวต้อนรับ
โดย ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจำนงค์
ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
09.10 – 09.40 น. การอภิปราย ศักยภาพและทิศทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูงผู้ร่วมอภิปราย

  1. ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา
    ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  2. รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช รุจิรวรรธน์
    ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. ธวัชชัย อ่อนจันทร์
    ผู้อำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
  4. ศาสตราจารย์ ดร. ชูกิจ ลิมปิจำนงค์
    ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช)

ดำเนินรายการโดย: ดร.วงศกร พูนพิริยะ

09.45 – 10.00 น. มอบของที่ระลึกและถ่ายรูปร่วมกัน
10.00 – 10.10 น. พัก
Session 1 (ต่อ): ความสามารถด้านวิศวกรรมของ สวทช. และแนวทางความร่วมมือ
10.10 – 11.00 น. ความก้าวหน้าการพัฒนาเทคโนโลยีด้านอุปกรณ์และวิศวกรรมการแพทย์

  • นวัตกรรม Exo-apparel สำหรับสังคมสูงวัย
    โดย ดร.ธนรรค อุทกะพันธ์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • RT Wheelchair รถเข็นเอกซเรย์แบบปรับนอน-นั่ง
    โดย ดร.ดนุ พรหมมินทร์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามมิติสำหรับการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์
    โดย ดร.เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี นักวิจัยอาวุโส
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
  • AMED Care เทคโนโลยีเพื่อการยกระดับการให้บริการสาธารณสุข
    โดย ดร.กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
  • การผลิตสารเภสัชรังสีด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์
    โดย นางโมฬีพัณณ์ แดงประเสริฐ
    ผู้จัดการศูนย์ไอโซโทปรังสี
    สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • อภิปรายแนวทางความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
Session 2 : ความร่วมมือการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมระหว่างหน่วยงาน
11.00 – 12.30 น. ความก้าวหน้าการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็คตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope : SEM)

  • การออกแบบและพัฒนาชิ้นส่วนภาคจัดการ electron beam profile
    โดย นายพชร การคนซื่อ วิศวกร
    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • การวัดและปรับปรุงคุณสมบัติของ electron beam profile และการประยุกต์ใช้ electron gun สำหรับการทดลองทางชีววิทยา
    โดย นางสาวพิชญาภัค กิติศรี
    มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    Presentation  : Download
  • การออกแบบห้องสุญญากาศและ scanning coil
    โดย ดร.ณรงค์ จันทร์เล็ก
    สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • การพัฒนาและปรับปรุงวงจรตรวจนับอิเล็กตรอนทุติยภูมิสู่การประมวลผลแบบดิจิตอล
    โดย นายธิติ เรืองสีสำราญ
    สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • การรับข้อมูลดิจิตอลและประมวลผลเป็นภาพ (Image Processing)
    โดย ดร.รุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ์ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • อภิปรายแนวทางการทำงานต่อยอด
12.30 – 13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน
ณ ห้องอาหาร อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร
13.30 – 14.20 น. ความก้าวหน้าการพัฒนาเทคโนโลยีการตรวจสอบอายุโบราณวัตถุโดยเครื่องเร่งอนุภาค Accelerator Mass Spectrometry (AMS)

  • แนวคิดการออกแบบและพัฒนา Accelerator Mass Spectrometer (AMS) สำหรับสำหรับ Radiocarbon dating
    โดย รศ.ดร.ประยูร ส่งสิริฤทธิกุล
    สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
    และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
    Presentation  : Download
  • แนวคิดการออกแบบและพัฒนา Ion Source ของ AMS
    โดย นายพชร การคนซื่อ วิศวกร
    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    Presentation  : Download
  • แลกเปลี่ยนหารือการพัฒนาต่อยอดร่วมกัน
14.20 – 14.45 น. เทคโนโลยี LiDAR และแนวโน้มการประยุกต์ใช้ในงานสำรวจทางโบราณคดี
โดย ดร.รุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ์ นักวิจัย
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สวทช.
Presentation  : Download
14.45 – 15.00 น. พัก
15.00 – 16.30 น.  ความก้าวหน้าการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับด้านอวกาศ

  • การดำเนินงานการสร้างและพัฒนาดาวเทียม TSC-1 ภายใต้ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium)
    โดย นายพงศกร มีมาก
    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

    Presentation  : Download
  • เทคโนโลยีการออกแบบระบบกักเก็บพลังงานในการใช้งานในดาวเทียม
    โดย ดร.จิราวรรณ มงคลธนทรรศ นักวิจัย
    ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ สวทช.
    Presentation  : Download
  • การประยุกต์ Plasma Thruster ทางเลือกการขับเคลื่อนดาวเทียมเยือนดวงจันทร์
    โดย ดร.อาหลี ตำหมัน ศูนย์วิศวกรรมและเทคโนโลยีนิวเคลียร์ชั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
    resentation  : Download
  • แลกเปลี่ยนหารือการพัฒนาต่อยอดร่วมกัน
16.30 – 16.45 น. รับชม VTR สรุปกิจกรรมเยี่ยมชม
16.45 – 17.00 น. กล่าวขอบคุณและปิดงาน

 

 

แชร์หน้านี้:
หน้าแรก ข่าว ปฏิทินกิจกรรม การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 5 (Advanced Engineering Workshop V)
ปฏิทินกิจกรรมอื่นๆ