หน้าแรก เจาะลึกโควิด-19 กับนักไวรัสวิทยา ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา
เจาะลึกโควิด-19 กับนักไวรัสวิทยา ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา
2 เม.ย. 2563
0
ข่าวประชาสัมพันธ์

รวมบทความ จากสื่อต่างๆ

ไบโอเทค สวทช. ดึงโนว์ฮาว ‘ไวรัสสุกร’ สู้โรคโควิด

แล็บไบโอเทค สวทช. สั่งสมความรู้เชิงลึก-ความเชี่ยวชาญด้านไวรัสก่อโรคในสัตว์เศรษฐกิจ มุ่งรับมือการเกิดโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำที่สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เผยต่อยอดทักษะความรู้ช่วยแก้ปัญหาโรคโควิด อาทิ การพัฒนาวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (เผยแพร่ 8 พฤษภาคม 2563)

‘รังสียูวี’ ฆ่าโควิดบนหน้ากาก ‘ไบโอเทค’ทดสอบใช้ซ้ำปลอดภัย 

จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ ที่ก่อโรคโควิด-19 นับเป็นภัยคุกคามสร้างความหวาดวิตกแก่ประชาชนอย่างมาก และการระบาดยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติลงง่ายๆ ยิ่งทำให้เกิดการขาดแคลนหน้ากากอนามัยขั้นวิกฤติ เนื่องจากหน้ากากอนามัยแบบธรรมดาที่ใช้ทางการแพทย์ และ N95 ถือเป็นสิ่งจำเป็นที่ใช้ในการป้องกันการติดเชื้อที่แพร่ผ่านละอองฝอยในอากาศ (เผยแพร่ 2 เมษายน 2563)

สำรวจความก้าวหน้าในการพัฒนาวัคซีนทั่วโลก ระยะเวลาและโอกาสที่ไทยจะได้รับวัคซีน COVID-19 

ท่ามกลางความหวาดวิตกจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ซึ่งตัวเลขผู้ติดเชื้อทั่วโลกกำลังจะแตะหลักล้านในไม่ช้า แสงสว่างเล็กๆ ตรงปลายอุโมงค์ที่พอจะเป็นความหวังให้กับมวลมนุษยชาติได้ ย่อมฝากไว้ที่ ‘วัคซีน’ ซึ่งเป็นทางรอดเดียวที่จะต่อสู้กับไวรัสมรณะนี้ ทว่าคำถามก็คือ นับจนถึงวันนี้ การพัฒนาวัคซีนก้าวหน้าไปถึงไหนแล้ว และหากประสบความสำเร็จ คนไทยจะมีโอกาสได้ใช้วัคซีน COVID-19 เมื่อไร (เผยแพร่ 1 เมษายน 2563)

ไวรัสสายพันธุ์อิตาลีดุกว่าสายพันธุ์เอเชียจริงหรือ? 

หลังจากมีข้อมูลเผยแพร่ในโลกออนไลน์ว่า สาเหตุที่ทำให้การระบาดของโรค COVID-19 ในอิตาลีมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก อาจมีความเป็นไปได้ที่ไวรัสโคโรน่าในอิตาลี เป็นเชื้อสายพันธุ์ที่ดุร้ายกว่าประเทศอื่นในเอเชีย ล่าสุดเฟซบุ๊กแฟนเพจ ‘Virology and Cell Technology Lab – BIOTEC’ ได้เผยแพร่บทความ ‘ไวรัสสายพันธุ์อิตาลีดุกว่าสายพันธุ์เอเชีย : ความจริง หรือ ความเห็น?’ (เผยแพร่ 23 มีนาคม 2563)

นักไวรัสวิทยาเตือนอย่าตระหนก ไวรัสกลายพันธุ์เป็นเรื่องปกติ

ความ ‘ไม่สมเหตุสมผล’ ของข้อสรุปเกี่ยวกับการกลายพันธุ์ของ ‘ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่’ เป็น S type และ L type สายพันธุ์รุนแรง (เผยแพร่ 6 มีนาคม 2563)

วิเคราะห์เจาะลึก โควิด-19 กับนักไวรัสวิทยาชาวไทย

ทำให้หลายฝ่ายกังวลว่าการระบาดจะก้าวเข้าสู่ระดับการระบาดใหญ่ (Pandemic) หรือไม่ ขณะที่ประเทศไทยประกาศให้โควิด-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ 14 เพื่อยกระดับมาตรการเฝ้าระวังที่เข้มข้นมากขึ้น แต่ท่ามกลางการระบาดที่ยังคงลุกลามอย่างรุนแรง ประชาชนจำนวนไม่น้อยยังไม่รู้จักและเข้าใจเกี่ยวกับโรค โควิด-19 อย่างแท้จริง (เผยแพร่ 3 มีนาคม 2563)

5 คำถามไขปริศนาไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่กับนักไวรัสวิทยาแถวหน้าของเมืองไทย

สถานการณ์การระบาดของ ‘COVID-19’ ในประเทศจีน และอีกหลายประเทศทั่วโลกขณะนี้ นับเป็นภัยคุกคามที่สร้างความหวาดวิตกแก่ประชาชนอย่างมาก ซึ่งการระบาดยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติลงง่ายๆ ประกอบกับข่าวลือและข่าวลวงที่ถาโถมบนโลกออนไลน์ ยิ่งสร้างข้อสงสัยและความตื่นตระหนกให้แก่ผู้คนจำนวนมาก (เผยแพร่ 26 กุมภาพันธ์ 2563)

สัมภาษณ์ ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา จากรายการโทรทัศน์

“ถอดรหัส” สายพันธุ์ “โควิด-19” ประเทศไทย

พบกับเรื่องราวของสายพันธุ์ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย และประเมินความน่าจะเป็นต้นตอของไวรัสร้ายตัวนี้ โดย. ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผอ.วิจัยกลุ่มนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ไบโอเทค สวทช. และ ผศ.นพ.ปกรัฐ หังสสูต หน่วยไวรัสวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชมย้อนหลังรายการพิเศษ “ตอบโจทย์ COVID-19” (เผยแพร่ 13 เมษายน 2563)

COVID-19 อยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมนานถึง 20 วันจริงหรือ?

รายการไทยสู้โควิด-19
สถานีโทรทัศน์ ThaiPBS
ออกอากาศ 1 เมษายน 2563

คลอรีนในสระว่ายน้ำช่วยฆ่าเชื้อ COVID-19 ได้หรือไม่ ?

สถานีโทรทัศน์ ThaiPBS
ออกอากาศ 16 มีนาคม 2563

ไขข้อข้องใจไวรัส “โควิด-19” กลายพันธุ์

ข่าวค่ำ MCOT HD-30
ออกอากาศ 11 มีนาคม 2563

รู้ รับมือ โควิด-19

รายการบ่ายโมงตรงประเด็น ThaiPBS
ออกอากาศ 6 มีนาคม 2563

(นาทีที่ 12.25 – 18.26)

แหล่งแพร่ระบาดไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019

รายการ ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET MCOT HD-30
ออกอากาศ 8 กุมภาพันธ์ 2563

จุดอ่อน..จุดตายของเชื้อไวรัสโคโรนาฯ

รายการ ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET MCOT HD-30
ออกอากาศ 6 กุมภาพันธ์ 2563

2 เม.ย. 2563
0
แชร์หน้านี้: