28 มีนาคม 2567

บูรณาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ยั่งยืน

Integration of Technology and Innovation for Sustainable Aquaculture

วิทยากร
  • ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
  • ดร. พุทธรัตน์ เบ้าประเสริฐกุล
  • น.สพ. ปราการ เจียระคงมั่น
  • รศ.ดร. รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ
  • ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข
  • อ. วินิจ ตันสกุล
  • นายคงภพ อำพลศักดิ์
  • นายสมประสงค์ เนตรทิพย์
  • ดร. เปรมฤทัย สุพรรณกูล
  • ดร. วิรัลดา ภูตะคาม
  • ดร. เสจ ไชยเพ็ชร
  • น.สพ. ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์
  • รศ.ดร. ศศิมนัส อุณจักร์
  • รศ.น.สพ. ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ
  • ดร. วรรณวิมล ศักดิ์เสมอพรหม
  • ดร. อภิรดี หงส์ทอง
  • ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
  • ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช
  • Asst. Prof. Dr. Ha Thanh Dong
  • ดร. เพทาย จรูญนารถ
  • นายสรพัศ ปณกร
  • ดร. พุทธ ส่องแสงจินดา
  • รศ.ดร. วราห์ เทพาหุดี
  • นายเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม
  • ดร. แสงจันทร์ เสนาปิน

การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำไปสู่ความยั่งยืน จะต้องสร้างและบูรณาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรและผู้ประกอบการ ในการประชุมวิชาการประจำปี 2567 สวทช. นี้ เครือข่ายวิจัยด้านสัตว์น้ำ สวทช. (NSTDA-Aquaculture) กำหนดจัดการสัมมนาวิชาการ เรื่อง บูรณาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ยั่งยืน โดยมุ่งประเด็นสำคัญแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่การประยุกต์เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อจัดการสุขภาพสัตว์น้ำ การมองอนาคตของกุ้งก้ามกรามซึ่งจะเป็นสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่สำคัญมากในอีก 5 ปีข้างหน้า การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ และการมองอนาคตของระบบเลี้ยงสัตว์น้ำที่ให้ผลผลิตสูง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดการปลดปล่อยคาร์บอน และคำนึงถึงสวัสดิภาพสัตว์น้ำ (Aquatic animal welfare) ซึ่งทั้งหมดนี้จะเน้นการนำนวัตกรรมและความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม

ร่างกำหนดการสัมมนา
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.20 น. พิธีเปิดการสัมมนา 
09.20 – 10.30 น. การบรรยาย ระบบนิเวศวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพสัตว์น้ำมุ่งสู่ BCG Implementation 

  • พันธมิตรในระบบนิเวศวิจัยและนวัตกรรมด้านสัตว์น้ำทั้งในประเทศและต่างประเทศ

         โดย ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
          ทีมวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • ยุทธศาสตร์ด้านวิจัยและนวัตกรรมของกรมประมงและความร่วมมือของพันธมิตรในการ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรม

          โดย ดร. พุทธรัตน์ เบ้าประเสริฐกุล กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ กรมประมง

  • แนวทางการวิจัยและนวัตกรรมของภาคเอกชนที่สอดคล้องกับนโยบาย BCG ของภาครัฐ

          โดย น.สพ. ปราการ เจียระคงมั่น

  • การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมของหน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง สู่การสนับสนุนอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศ

          โดย รศ.ดร. รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • โครงสร้างพื้นฐานของสวทช. ที่สนับสนุนระบบนิเวศวิจัยและนวัตกรรมด้านสัตว์น้ำของประเทศ

          โดย ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

10.30 – 11.00 น. พักระหว่างการสัมมนา
11.00 – 12.30 น. การเสวนา “มองอนาคตกุ้งก้ามกรามไทยในอีก 5 ปีข้างหน้า”

การบรรยายนำ: แนวโน้มอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามไทย

โดย อ. วินิจ ตันสกุล Aquatic Innovation Consultant

วิทยากรเสวนา

  • นายคงภพ อำพลศักดิ์ กองวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ กรมประมง
  • นายสมประสงค์ เนตรทิพย์ สมาคมกุ้งตะวันออกไทย
  • ดร. เปรมฤทัย สุพรรณกูล
    ทีมวิจัยอณูพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
  • ดร. วิรัลดา ภูตะคาม
    ทีมวิจัยจีโนมิกส์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ดำเนินการเสวนาโดย ดร. เสจ ไชยเพ็ชร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

12.30 – 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13.30 – 15.00 น. การบรรยาย “เทคโนโลยีเพื่อการทดแทนยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำ”

  • มุมมองการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์น้ำจากภาคเอกชน

        โดย น.สพ. ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์ บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด

การบรรยาย Flash talk 7 นาที

  • Powerful biocontrol: from probiotics to fish vaccines

         โดย รศ.ดร. ศศิมนัส อุณจักร์ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • Innovative products for replacing antibiotics : a milestone from research to business

         โดย รศ.น.สพ. ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ
         ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • Unleashing Algal and Probiotic Power to Safeguard Aquatic Health Without Antibiotics

         โดย ดร. วรรณวิมล ศักดิ์เสมอพรหม
         ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพปลาและกุ้ง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • Antimicrobial peptides from Spirulina 

         โดย ดร. อภิรดี หงส์ทอง
         ทีมวิจัยชีวศาสตร์และชีววิทยาระบบ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • เปปไทด์ต้านจุลชีพจากไข่ขาว ทางเลือกทดแทนยาปฏิชีวนะสำหรับอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ

         โดย ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
         ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • เอนโดไลซิน ทางเลือกทดแทนยาปฏิชีวนะสำหรับอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ

          โดย ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช
          ทีมวิจัยการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารชีวโมเลกุล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • Application of Nanobubble Technology in Mitigating Antimicrobial Resistance (AMR) in Aquaculture

          โดย Asst. Prof. Dr. Ha Thanh Dong Department of Food, Agriculture, and Bioresources, Asian Institute of Technology

ดำเนินรายการโดย ดร. เพทาย จรูญนารถ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

15.00 – 15.30 น. พักระหว่างการสัมมนา
15.30 – 16.30 น. การเสวนา “ประเทศไทยจะก้าวสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำที่ให้ผลผลิตสูง ลดการปลดปล่อยคาร์บอน และคำนึงถึงสวัสดิภาพสัตว์น้ำได้อย่างไร”

บรรยายนำ: การมองอนาคตระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำของไทยและของโลก 

โดย นายสรพัศ ปณกร Novonesis

วิทยากรเสวนา

  • ดร. พุทธ ส่องแสงจินดา ที่ปรึกษาด้านการจัดการระบบเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล
    กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง กรมประมง
  • รศ.ดร. วราห์ เทพาหุดี ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นายเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม ประธานกรรมการ บริษัท อเดคนิค เอ็นจิเนียริ่งโซลูชั่น จำกัด
  • ดร. แสงจันทร์ เสนาปิน
    ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพปลาและกุ้ง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ดำเนินการเสวนาโดย ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

16.30 – 16.45 พิธีปิดการสัมมนา

 

Last updated 4 March 2024

เอกสารประกอบการสัมมนา
เกี่ยวกับวิทยากร
ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
ทีมวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. พุทธรัตน์ เบ้าประเสริฐกุล
กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ กรมประมง
น.สพ. ปราการ เจียระคงมั่น
ฝ่ายวิชาการธุรกิจสัตว์น้ำ เครือเจริญโภคภัณฑ์
รศ.ดร. รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
อ. วินิจ ตันสกุล
Aquatic Innovation Consultant
นายคงภพ อำพลศักดิ์
กองวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ กรมประมง
นายสมประสงค์ เนตรทิพย์
สมาคมกุ้งตะวันออกไทย
ดร. เปรมฤทัย สุพรรณกูล
ทีมวิจัยอณูพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. วิรัลดา ภูตะคาม
ทีมวิจัยจีโนมิกส์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. เสจ ไชยเพ็ชร
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
น.สพ. ปรีชา เอกธรรมสุทธิ์
บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด
รศ.ดร. ศศิมนัส อุณจักร์
ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รศ.น.สพ. ดร. ชาญณรงค์ รอดคำ
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร. วรรณวิมล ศักดิ์เสมอพรหม
ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพปลาและกุ้ง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. อภิรดี หงส์ทอง
ทีมวิจัยชีวศาสตร์และชีววิทยาระบบ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช
ทีมวิจัยการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารชีวโมเลกุล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
Asst. Prof. Dr. Ha Thanh Dong
Department of Food, Agriculture, and Bioresources, Asian Institute of Technology
ดร. เพทาย จรูญนารถ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
นายสรพัศ ปณกร
Novonesis
ดร. พุทธ ส่องแสงจินดา
ที่ปรึกษาด้านการจัดการระบบเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง กรมประมง
รศ.ดร. วราห์ เทพาหุดี
ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม
ประธานกรรมการ บริษัท อเดคนิค เอ็นจิเนียริ่งโซลูชั่น จำกัด
ดร. แสงจันทร์ เสนาปิน
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช.

หัวข้อสัมมนาอื่น ๆ