30 มีนาคม 2567

การยกระดับการผลิตสมุนไพรและพืชเศรษฐกิจมูลค่าสูงด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ภายใต้โมเดล BCG Implementation

Development of novel production for Thai herbs and economic crops by modern science and technology under the supervision of BCG Implementation model

วิทยากร
  • ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา 
  • นางสาว สอางค์โฉม โอสถจันทร์
  • ดร. ประเดิม วณิชชนานันท์
  • ดร. กนกวรรณ รมยานนท์
  • ดร. ศิริภา กออินทร์ศักดิ์
  • ดร. พนิตา ชุติมานุกูล
  • ดร. ยี่โถ ทัพภะทัต
  • ดร. ปาริชาติ เบิรนส์
  • ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์
  • คุณกฤษณะ ธรรมวิมล
  • คุณชนุตร์พันธุ์ หอสุวรรณ์
  • ดร. วิลาส ฉ่ำเลิศวัฒน์
  • ดร. สุทธิรัตน์ รัตนพันธ์ 
  • คุณเพ็ญปภา เพื่องอักษร
  • คุณอำนาจ บุตรทองคำวงษ์

ประเทศไทยมีจุดแข็งเรื่องความหลากหลายของพืชสมุนไพรเพื่อเป็นอาหาร ยารักษาโรค และใช้เพื่อดูแลสุขภาพ และเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบที่สำคัญสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่มีมูลค่าเพิ่มสูง  อย่างไรก็ตามปัญหาสำคัญของการผลิตสมุนไพรที่พบคือ ปัญหาความไม่สมดุลของอุปสงค์อุปทาน ปัญหาการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และโลหะหนักเกินมาตรฐานในวัตถุดิบสมุนไพรที่นำมาแปรรูปผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ รวมทั้งขาดความสม่ำเสมอของสารสำคัญ/          สารออกฤทธิ์จากวัตถุดิบที่มาจากแหล่งปลูกต่างๆ จึงเป็นอุปสรรคที่ทำให้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยถูกจำกัดโอกาสในเวทีโลกที่มีการแข่งขันสูง    ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ โดยทีมวิจัยนวัตกรรมการผลิตพืชสมุนไพรในโรงงานผลิตพืช มุ่งมั่นพัฒนาองค์ความรู้ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ภายใต้แนวนโยบาย BCG Implementation ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ทีมวิจัยจึงได้คิดค้นและพัฒนากระบวนการผลิตพืชสมัยใหม่ (Plant Factory) ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้การยกระดับอุตสาหกรรมสมุนไพร ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ที่ให้ปริมาณสารออกฤทธิ์สูง  (selection of elite clone) พัฒนาระบบและสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของสมุนไพรที่ให้สารออกฤทธิ์ในปริมาณสูงและคงที่สม่ำเสมอ และพัฒนาการสกัดสารออกฤทธิ์ที่มีมูลค่าสูงอย่างมีมาตรฐาน เพื่อส่งต่อให้การพัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรไปสู่การเป็นอาหารเสริมสุขภาพ เวชสำอาง และยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และยั่งยืน  พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีการผลิตพืชสมุนไพรที่ให้สารออกฤทธิ์ในปริมาณสูงภายใต้สภาพแวดล้อมควบคุม สู่การใช้งานในภาคการผลิตสมุนไพรเชิงการค้า เพื่อและใช้เป็นวัตถุดิบส่งต่อให้การพัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรไปสู่การเป็นอาหารเสริมสุขภาพ เวชสำอาง และยา ได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ยกระดับประเทศไทยเข้าสู่การเป็น hub ด้านสุขภาพในอนาคต

กำหนดการสัมมนา
09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียน

กล่าวเปิดสัมมนา

โดย ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา รองผู้อำนวยการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ดำเนินรายการโดย นางสาว สอางค์โฉม โอสถจันทร์  ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

09.40 – 10.20 น.
  1.  การยกระดับการผลิตสมุนไพรฟ้าทะลายโจรเพื่ออุตสาหกรรมยาของประเทศ
    โดย ดร. ประเดิม วณิชชนานันท์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  1. การพัฒนาบัวบกสายพันธุ์ดี ให้ปริมาณสารสำคัญทางชีวภาพสูงสำหรับอุตสาหกรรมเวชสำอางภายใต้สภาพแวดล้อมควบคุมในระบบ Plant Factory
    โดย ดร. กนกวรรณ รมยานนท์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  1. ความหลากหลายและแนวทางการพัฒนาพันธุ์กะเพรา
    โดย ดร. ศิริภา กออินทร์ศักดิ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  1. กรรมวิธีการปลูกกะเพราภายใต้สภาพแวดล้อมควบคุมในระบบ Plant Factory
    โดย ดร. พนิตา ชุติมานุกูล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  1. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Bioreactor) เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตพืชเศรษฐกิจ
    ในระดับอุตสาหกรรม
    โดย ดร. ยี่โถ ทัพภะทัต ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  1. การจัดการพืชผักสมุนไพรหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาคุณภาพการรับประทาน
    โดย ดร. ปาริชาติ เบิรนส์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
  2. การผลิตผักเชิงหน้าที่ที่ให้ปริมาณสารสำคัญทางชีวภาพสูง ภายใต้สภาพแวดล้อมควบคุมในระบบ Plant Factory
    โดย ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
10.30 – 11.10 น. เทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ในโรงงานผลิตพืช สถานการณ์ ทางเลือก และทางรอดของเทคโนโลยี PFAL ในประเทศไทย (Tentative)

โดย

  • คุณกฤษณะ ธรรมวิมล CTO บริษัท ไดสตาร์เฟรช จำกัด
  • คุณชนุตร์พันธุ์ หอสุวรรณ์ กรรมการ บริษัท ศูนย์เกษตรกรรมบางไทร จำกัด
  • ดร. วิลาส ฉ่ำเลิศวัฒน์ CEO บริษัท noBitter จำกัด
  • ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์ นักวิจัย กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชแบบบูรณาการ
    ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ผู้ดำเนินรายการ ดร. สุทธิรัตน์ รัตนพันธ์ ที่ปรึกษาอาวุโส ฝ่ายบริหารวิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

11.10 – 11.50 น. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตพืชสมุนไพรเพื่อการใช้งานใน BCG Implementation ทุ่งกุลาร้องไห้

โดย

  • คุณเพ็ญปภา เพื่องอักษร สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

           สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  • ดร. ยี่โถ ทัพภะทัต กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชแบบบูรณาการ

           ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • ดร.ประเดิม วณิชชนานันท์ กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชแบบบูรณาการ

           ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • คุณอำนาจ บุตรทองคำวงษ์ Senior Department Manager – KUBOTA Solutions Department บริษัทสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด

ผู้ดำเนินรายการ ดร.เกรียงไกร โมสาลียานนท์ กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชแบบบูรณาการ

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

12.00 – 12.30 น. ถาม – ตอบ

 

ผลงานจัดแสดง
  1. ฟ้าทะลายโจรสายพันธุ์ “ราชบุรี BT-1” ที่มาจากการรวบรวมเชื้อพันธุกรรมในจังหวัดราชบุรี และทำ single plant selection
  2. เชื้อพันธุกรรมกะเพรา
  3. ระบบปลูกกะเพราไฮโดรโปนิกส์
  4. ขมิ้นชัน กระชายดำ ชิง ไพล กระชายดำ จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
  5. พันธุ์ปทุมมาใหม่ของ สวทช. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตร
  6. พันธุ์ไผ่เศรษฐกิจกับการผลิตต้นกล้าด้วยเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
  7. ระบบไบโอรีแอคเตอร์ สำหรับการขยายต้นพืชปลอดโรค
  8. พันธุ์บัวบกที่ผ่านการคัดเลือก ต้นใหญ่ ผลผลิต และสารสำคัญทางชีวภาพสูง
กิจกรรมอื่นๆ
  1. การแจกเมล็ดพันธุ์ฟ้าทะลายโจรสายพันธุ์ “ราชบุรี BT-1” (จำนวนจำกัด)
  2. วีดิทัศน์: รวมภาพงานวิจัยทีมวิจัยนวัตกรรมโรงงานผลิตพืชสมุนไพร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 
  3. การอบรมเชิงปฏิบัติการนำต้นพืชสมุนไพรจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชออกปลูก (15-20 คน)
  4. การทำอาหารโดยใช้พืชผักสมุนไพรที่พัฒนาโดยทีมวิจัย เช่น ผัดกะเพราและสสัดผัก 
  5. จำหน่ายผักสลัดที่ผลิตจากโรงงานผลิตพืชสมุนไพรไบโอเทค 
  6. welcome drink ด้วยน้ำปั่นเคล ยี่ห้อ EasyVeggie จากบริษัทสุพีเรียโกลด์จำกัด

Last updated 15 March 2024

เกี่ยวกับวิทยากร
ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา 
รองผู้อำนวยการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
นางสาว สอางค์โฉม โอสถจันทร์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. ประเดิม วณิชชนานันท์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. กนกวรรณ รมยานนท์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. ศิริภา กออินทร์ศักดิ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. พนิตา ชุติมานุกูล
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. ยี่โถ ทัพภะทัต
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. ปาริชาติ เบิรนส์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
คุณกฤษณะ ธรรมวิมล
CTO บริษัท ไดสตาร์เฟรช จำกัด
คุณชนุตร์พันธุ์ หอสุวรรณ์
กรรมการ บริษัท ศูนย์เกษตรกรรมบางไทร จำกัด
ดร. วิลาส ฉ่ำเลิศวัฒน์
CEO บริษัท noBitter จำกัด
ดร. สุทธิรัตน์ รัตนพันธ์ 
ที่ปรึกษาอาวุโส ฝ่ายบริหารวิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ
คุณเพ็ญปภา เพื่องอักษร
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
คุณอำนาจ บุตรทองคำวงษ์
Senior Department Manager - KUBOTA Solutions Department บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด

หัวข้อสัมมนาอื่น ๆ