ร่วมกันรู้ ปลูกพริกแบบปลอดภัย

ร่วมกันรู้ ปลูกพริกแบบปลอดภัย

ยินดีต้อนรับสู่ “โครงการศูนย์ร่วมกันรู้ การปลูกพริกแบบปลอดภัย” ข้อความเชื้อเชิญหน้าทางเข้าพื้นที่ราว 50 ไร่ของบริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์จำกัด (มหาชน) ต.อ่ายนาไลย อ.เวียงสา จ.น่าน พื้นที่แห่งนี้นอกจากให้ชาวบ้านเช่าเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และยาสูบแล้ว บริษัทฯ ยังแบ่งพื้นที่ทดลองปลูกพริกแบบปลอดภัยเพื่อเป็นวัตถุดิบทำเครื่องปรุงสำหรับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ “เราเป็นบริษัทผลิตอาหารสำเร็จรูป เราให้ความสำคัญและใส่ใจวัตถุดิบทุกชนิดที่ประกอบเป็นอาหารตั้งแต่การผลิตในแปลงปลูกไปจนถึงการผลิตในระดับอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัย” ประพิณ ลาวิณย์ประเสริฐ ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงเจตจำนงของบริษัทฯ ที่มุ่งเน้นความปลอดภัยของวัตถุดิบเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภค แม้ผลผลิตพริกที่ได้จะไม่มากพอเนื่องจากปัญหาเรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช แต่บริษัทฯ มิได้ย่อท้อ ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลิตพริกให้ได้คุณภาพและปลอดภัย จนในปี 2562 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) จัดทำ “โครงการศูนย์เรียนรู้การผลิตพริกคุณภาพแบบปลอดภัย” ร่วมกับบริษัทฯ เพื่อพัฒนาให้เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตพริกคุณภาพแบบปลอดภัยและถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร ซึ่ง สท. ได้เชื่อมโยง

ยางชุมน้อยโมเดล: การปลูกพริกยอดสนเข็ม 80 เพื่อแปรรูป

ยางชุมน้อยโมเดล: การปลูกพริกยอดสนเข็ม 80 เพื่อแปรรูป

อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ ถือเป็นพื้นที่ผลิตพริกชั้นดีของประเทศไทย เกษตรกรในพื้นที่มีอาชีพผลิตพริกจำหน่ายให้ลูกค้าในประเทศ แต่เกษตรกรยังมีรายได้น้อย ทั้งๆ ที่ทำการเกษตรมานาน มีความชำนาญและขยัน การผลิตพริกแบบเดิมมีต้นทุนสูง มีปัญหาโรคแมลงและใช้สารเคมีปริมาณมาก ทำให้ สุจิตรา จันทะศิลา ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และต้องการกลับบ้านมาช่วยเหลือเกษตรกรที่บ้านเกิด จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโนนติ้ว ตำบลโนนคูณ อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อ 27 สิงหาคม 2558 ให้เกษตรกรผลิตพริกแห้งปลอดภัยเพื่อแปรรูปและส่งออก เช่น ผลิตพริกสายพันธุ์ “ยอดสนเข็ม 80” ป้อนให้บริษัท บางกอกแลปแอนด์คอสเมติก จำกัด โดยประกันราคารับซื้อ บริษัทฯ ต้องการผลผลิตพริกแห้งพันธุ์นี้ประมาณปีละ 5 – 10 ตันต่อปี หรือ พริกสด

พืชอื่นๆ

พืชอื่นๆ

สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) นำองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการผลิตพืชที่วิจัยและพัฒนาโดย สวทช. และเครือข่ายพันธมิตร ถ่ายทอดสู่เกษตรกร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชให้ได้คุณภาพ ตั้งแต่การผลิตเมล็ดพันธุ์ไปถึงการผลิตผลสด อาทิ พริก มะเขือเทศ ฟักทอง ผักสลัด เป็นต้น  บทความ สิ่งพิมพ์ วิดีโอ บทความ “ปลูกให้เป็น ปลูกให้มีกิน” สร้างความมั่นคงทางอาหารที่แนวชายแดน “สับปะรดบ้านสา” ผลผลิตคุณภาพ-สร้างมูลค่า ด้วยความรู้-ความใส่ใจ เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ PGS ใต้ร่มบุญ : ปันความรู้ สร้างแนวร่วม พัฒนาไปด้วยกัน “ฟาร์มฝันแม่” ความฝัน ความจริง และความรู้เกษตรอินทรีย์ “สมุนไพรอินทรีย์” สร้างความมั่นคงด้านทรัพยากรชีวภาพ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน รู้หลักและจัดการ สร้างผลผลิตกาแฟ