30 มีนาคม 2567

นำเสนอโครงงานนวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะในโรงเรียนจังหวัดปทุมธานี

Presentation of Smart Farming Projects in Schools, Pathum Thani Province, Utilizing HandySense.

วิทยากร
  • ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์
  • ดร.วสุ ทัพพะรังสี
  • นายจักริน ตรองจิตต์
  • นายปภาวิน พวงมะณี
  • นายอนพัช แก้วตุมกา
  • นายณัฐวุฒิ นุชเทียน
  • นางสาววราพร นัยเนตร
  • นางสาวนิภารัตน์ ทัดดอกแก้ว
  • นางสาววิชุดา ยี่สุ่นซ้อน
  • นางสาวนิรดา บุญเรือง
  • นางสาวหทัยทิพย์ รัตนวรรณ์
  • นางสาวปณิตา รัตนวรรณ
  • นายภูวิศ มาตรเลี่ยม
  • นายฐิติกร วิเศษชาติ
  • นายพัชรพล อินทะเดช
  • นายกิตติชัย โยติภัย
  • นายธนวินท์ ภักดีทา
  • นายกฤติพงษ์ แสงศรี
  • นางสาวจุฬาพร เขียวแก่
  • นางสาวกณิการ์ รักษาวงศ์
  • นางสาวนันท์นภัส ศรีเกษม
  • นางสาวไพรริน เม็ดพลอย
  • นายภัทรพล จันทร์พวง
  • นางสาวกมลวรรณ เทศลาภ
  • นายสิรวิชญ์ กรุดเงิน
  • นางสาวเพชรรัตน์ ชูวงศ์
  • นางสาวจุฑามาศ แสวงศรี
  • นางสาววีธรา ชุ่มเย็น
  • นางสาวเกตน์นิภา แซ่ลี้
  • นางสาวปนัดดา ประดับญาติ
  • นางสาวอรัญญา จินะเสน
  • ผู้เข้าร่วมสัมมนา และคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
  • ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์ 
  • รศ.ดร.เกรียงไกร แซมสีม่วง 
  • รศ.ดร.จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ 
  • อาจารย์ว่าที่ ร.ต. จุลพงศ์ พฤกษะศรี 
  • อาจารย์ดร.วิพุธ ตุวยานนท์

 

การพัฒนาเยาวชนไทยให้พร้อมรับมือกับโลกในศตรวรรษที่ 21 เพื่อตอบสนองความต้องการของเยาวชน สังคมและตลาดแรงงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต เป็นภารกิจที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนร่วมกับสถาบันการศึกษา โดยบริบทพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและบริบทของประเทศไทยนั้นมีภาคเกษตรเกี่ยวข้องกับคนไทยมากกว่า 12 ล้านคน ข้อมูลจากสำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 แสดงสัดส่วนพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัดปทุมธานีทั้งหมด 37.28% ของพื้นที่ทั้งหมด ขนาดเศรษฐกิจของจังหวัดปทุมธานี (GPP) เป็นภาคการเกษตร 32,413 ครัวเรือน (จากทั้งหมด 665,300 ครัวเรือน) นอกจากนั้นยังแสดงข้อมูลปัญหาอุปสรรค/ความเสี่ยง/ความท้าทาย ต่อการปฏิบัติราชการด้านการเกษตรของจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ข้อจำกัดด้านสภาพพื้นที่เกษตรกรรมในจังหวัดปทุมธานีลดลง เนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง วิถีทำเกษตรเปลี่ยนไปจากเดิมมากโดยเกษตรกรหันมาใช้วิธีการจ้างแรงงานเกือบทุกขั้นตอนในการผลิตส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น โดยข้อเสนอในการแก้ปัญหา ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรให้มีความพร้อมต่อการรับการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer เพิ่มมากขึ้น การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer เพื่อรองรับเกษตรกรรุ่นเก่า และการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยเหมาะสม และสามารถทำการเกษตรอย่างครบวงจร รวมถึงการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิต 

การเตรียมเยาวชนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 และการเตรียมเยาวชนไทยสู่ความพร้อมด้านนวัตกรรมเกษตรที่กล่าวมาข้างต้น สอดคล้องกับประเด็นมุ่งเน้นด้านการขับเคลื่อนเรื่อง การเตรียมกำลังคน ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการ BCG (BCG Talent & Entrepreneur Development) ในแนวทางโมเดลเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “BCG Model” ซึ่งเป็นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ที่มีการขับเคลื่อนการเตรียมกำลังคนโดยมีกลุ่มสมาร์ทฟาร์มเมอร์ (Smart Farmers) เป็นหนึ่งในหกกลุ่มเป้าหมายที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG เป็นการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นพื้นฐานสำคัญในการทำเกษตรกรรมที่มีการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับการเกษตร IoT หรือ โดรน หรือ Farmbot เป็นต้น ในการจัดทำสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm) พัฒนาการทำเกษตรกรรมตามศักยภาพ สามารถใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม

08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
กล่าวเปิดสัมมนา

โดย ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์ ผู้จัดการ งานบริหารแผนงานและจัดการโครงการพัฒนากำลังคน (PPM)

ดำเนินรายการโดย ดร.วสุ ทัพพะรังสี

09.00 – 10.30 น. ประสบการณ์โครงการนวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะในระดับมหาวิทยาลัย

โดย นายจักริน ตรองจิตต์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเรือนเพาะมะเขือเทศราชินี

โดย นายปภาวิน พวงมะณี, นายอนพัช แก้วตุมกา และนายณัฐวุฒิ นุชเทียน
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์

นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเรือนเพาะผักกาดหอมบัตเตอร์เฮด

โดย นางสาววราพร นัยเนตร, นางสาวนิภารัตน์ ทัดดอกแก้ว และนางสาววิชุดา ยี่สุ่นซ้อน 
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์

10:30 – 10:45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10:45 – 12:00 น. นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเรือนปลูกกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค

โดย นางสาวนิรดา บุญเรือง, นางสาวหทัยทิพย์ รัตนวรรณ์ และนางสาวปณิตา รัตนวรรณ
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์

นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเพาะเห็ดหูหนู

โดย นายภูวิศ มาตรเลี่ยม, นายฐิติกร วิเศษชาติ และนายพัชรพล อินทะเดช
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเรือนผักเคล (Kale) 

โดย นาย นายกิตติชัย โยติภัย, นายธนวินท์ ภักดีทา และนายกฤติพงษ์ แสงศรี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

12:00 – 13:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย
13:00 – 14:45 น. นวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำสำหรับโรงเรือนเพาะปลูกกรีนโอ๊ค

โดย นางสาวจุฬาพร เขียวแก่, นางสาวกณิการ์ รักษาวงศ์, นางสาวนันท์นภัส ศรีเกษม
และ นางสาว ไพรริน เม็ดพลอย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

การทดลองเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตของเห็ดนางฟ้าภูฐานและเห็ดนางรมในโรงเรือนเห็น โดยใช้เครื่องมือติดตามวัดค่าอุณหภูมิและความชื้นผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของสรรสิ่ง HandySense

โดย นายภัทรพล จันทร์พวง, นางสาวกมลวรรณ เทศลาภ และนายสิรวิชญ์ กรุดเงิน
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี

ศึกษาการเจริญเติบโตของผักสลัดในแปลงปลูกสำหรับการปลูกนอกโรงเรียนโดยใช้เครื่องมือติดตามความเข้มของแสงวัดค่าอุณหภูมิและความชื้นผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง HandySense

โดย นางสาวเพชรรัตน์ ชูวงศ์, นางสาวจุฑามาศ แสวงศรี และนางสาววีธรา ชุ่มเย็น
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี

14:45 – 15:00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15:00 – 16:00 น. การเปรียบเทียบวัสดุในการปลูกเมล่อน

โดย นางสาวเกตน์นิภา แซ่ลี้, นางสาวปนัดดา ประดับญาติ และนางสาวอรัญญา จินะเสน
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี

แลกเปลี่ยนการดำเนินโครงงานนวัตกรรมระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะในโรงเรียนจังหวัดปทุมธานี ระหว่างโรงเรียน

รับฟังข้อเสนอแนะการดำเนินโครงานฯ 

โดย  ผู้เข้าร่วมสัมมนา และคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี

16:30 – 17:00 น. กล่าวปิดสัมมนา

โดย ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์ ผู้จัดการ
งานบริหารแผนงานและจัดการโครงการพัฒนากำลังคน (PPM)

 

หมายเหตุ วิทยากรให้ความรู้และคำแนะนำโครงงานจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี จำนวน 4 คน ดังนี้

  1. รศ.ดร.เกรียงไกร แซมสีม่วง 
  2. รศ.ดร.จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ 
  3. อาจารย์ว่าที่ ร.ต. จุลพงศ์ พฤกษะศรี 
  4. อาจารย์ดร.วิพุธ ตุวยานนท์
เกี่ยวกับวิทยากร
ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์
ดร.วสุ ทัพพะรังสี
นายจักริน ตรองจิตต์
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
นายปภาวิน พวงมะณี
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นายอนพัช แก้วตุมกา
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นายณัฐวุฒิ นุชเทียน
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาววราพร นัยเนตร
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาวนิภารัตน์ ทัดดอกแก้ว
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาววิชุดา ยี่สุ่นซ้อน
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาวนิรดา บุญเรือง
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาวหทัยทิพย์ รัตนวรรณ์
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นางสาวปณิตา รัตนวรรณ
โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์
นายภูวิศ มาตรเลี่ยม
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นายฐิติกร วิเศษชาติ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นายพัชรพล อินทะเดช
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นายกิตติชัย โยติภัย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นายธนวินท์ ภักดีทา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นายกฤติพงษ์ แสงศรี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นางสาวจุฬาพร เขียวแก่
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นางสาวกณิการ์ รักษาวงศ์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นางสาวนันท์นภัส ศรีเกษม
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
นางสาวไพรริน เม็ดพลอย
นายภัทรพล จันทร์พวง
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวกมลวรรณ เทศลาภ
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นายสิรวิชญ์ กรุดเงิน
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวเพชรรัตน์ ชูวงศ์
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวจุฑามาศ แสวงศรี
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาววีธรา ชุ่มเย็น
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวเกตน์นิภา แซ่ลี้
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวปนัดดา ประดับญาติ
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
นางสาวอรัญญา จินะเสน
โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี
ผู้เข้าร่วมสัมมนา และคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
ดร.ปิยวิทย์ คุ้มพงษ์ 
ผู้จัดการ งานบริหารแผนงานและจัดการโครงการพัฒนากำลังคน (PPM)
รศ.ดร.เกรียงไกร แซมสีม่วง 
รศ.ดร.จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ 
อาจารย์ว่าที่ ร.ต. จุลพงศ์ พฤกษะศรี 
อาจารย์ดร.วิพุธ ตุวยานนท์

หัวข้อสัมมนาอื่น ๆ