magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Archive for category "S&T Stories" (Page 10)
formats

บริษัทน้ำมันจีนและยุโรปได้สัมปทานแหล่งน้ำมันใหญ่ในบราซิล

สำนักข่าวไทย นำเสนอข่าวต่างประเทศ รีโอเดจาเนโร 22 ต.ค. 2013  -บริษัทซีนุกและซีเอ็นพีซีของจีน บริษัทเชลล์สัญชาติดัตช์-อังกฤษ และโททาล(Total) ของฝรั่งเศส ร่วมกับบริษัทปิโตรบราสของบราซิล คว้าประมูลสัมปทานบ่อน้ำมันลิบราซึ่งเป็นแหล่งน้ำมันขนาดใหญ่ในบราซิล เมื่อวันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม บริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ได้สัมปทานแหล่งน้ำมันระยะเวลา 35 ปี โดยผลการประมูลบริษัทปิโตรบราสได้ส่วนแบ่งร้อยละ 40 เชลล์และโททาลร้อยละ 20  ส่วนซีนุกและซีเอ็นพีซีได้ร้อยละ 10   ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประมูลเพียง 10 ราย และไม่มีบริษัทจากสหรัฐ เพราะมองว่าการที่บราซิลให้บริษัทปิโตรบราสของรัฐดำเนินการผูกขาดเป็นส่วนใหญ่ จะทำให้รัฐเข้ามาแทรกแซงกิจการได้ อ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ สำนักข่าวไทย อสมท. – http://www.mcot.net/site/content?id=5265e73d150ba03a6e0000a6#.UmYo0xDxbGg– ( 37 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

มองความคิด ผ่านเรื่องวิทย์ ในสื่อไทย

หนังสือ เรื่อง มองความคิด ผ่านเรื่องวิทย์ ในสื่อไทย ซึ่งสถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) จัดทำขึ้น โดยการรวบรวมบทสัมภาษณ์จากนักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และผู้เชี่ยวชาญในแขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม 17  ท่าน ได้แก่ นายแพทย์ประเวศ วะสี (ยุทธศาสตร์โทรทัศน์กับการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้) ดร. นิธิ เอียวศรีวงษ์ (“วิทย์ฯ” แบบไทยๆ) ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ (“วิทยาศาสตร์” วิญญาณที่ถูกลืม) รศ. ดร. ชัยวัฒน์ คุประตกุล (“ภูมิวิทยาศาสตร์ จะคุ้มกัน “ความคิด” คนไทยอย่างไร?) บำรุง ไตรมนตรี (การสื่อสารวิทยาศาสตร์ โอกาสรอดของวิทยาศาสตร์ในสังคม) ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล (เศรษฐกิจพอเพียง วิทยาศาสตร์แห่งการพัฒนา) รออีม ปรามาท (วิทยาศาสตร์ในงานเขียนสู่งานหน้าจอโทรทัศน์) วินทร์ เลียววาริณ (วิทยาศาสตร์ จินตนาการ/สร้างสรรค์) ดร. ทวีศักดิ์

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ไทยจับมือเซิร์นตั้งฮับสำรองข้อมูล

สำนักข่าวไทย นำเสนอข่าววิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10 ต.ค. – ประเทศไทยและองค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรปหรือเซิร์น ร่วมมือติดตั้งและใช้งานเครือข่ายกริดคอมพิวเตอร์ เป็นศูนย์แรกในภูมิภาคอาเซียน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และองค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรปหรือเซิร์น แถลงข่าวถึงการลงนาม ความร่วมมือในการพัฒนาและใช้งานเครือข่ายกริดคอมพิวเตอร์ Worldwide LHC Computing Grid (WLCG) โดยให้ไทยเป็นศูนย์สำรองข้อมูล เป็นแห่งแรกในภูมิภาคอาเซียน – ( 50 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

งบประมาณวิจัย ของฝรั่งเศส

Published on October 9, 2013 by in S&T Stories

ข่าววิทยาศาสตร์ล่าสุดจากวารสารเนเจอร์  ฉบับวันที่ 3 ตุลาคม  2556 เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2013  มีการออกข่าวว่า เงินทุนด้านวิจัยและการศึกษาขั้นสูง ของประเทศฝรั่งเศส ในปี งบประมาณ 2014 ยังคงเป็นก้อนใหญ่เหมือนเดิม  ไม่เปลี่ยนแปลงจากร่างการของบประมาณ ปี 2014 ส่วนข้อเสนอเรื่อง ภาษีคาร์บอน  ที่รอคอยมายาวนาน  ก็ประสบความสำเร็จตามสัญญา นำเสนอโดยประธานาธิบดี  François Hollande และนายกรัฐมนตรี Jean-Marc Ayrault   มีกำหนดดำเนินการในปีหน้า 2014 โดยคาดว่า ปี 2014 จะได้รับเงินภาษี ราว 340 ล้าน €  (460 ล้าน USD) และในปี 2016 ได้รับ 4 พันล้าน € อ้างอิง : French budget .  (2013). Seven

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

แผ่นดินไหวที่ปากีสถาน ทำให้เกิดเกาะใหม่โผล่ขึ้นมา

ข่าววิทยาศาสตร์ล่าสุดจากวารสารเนเจอร์  ฉบับวันที่ 3 ตุลาคม  2556 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2013 เกิดปรากฏการณ์ คือมีเกาะใหม่ปรากฏขึ้นมาในทะเลอาหรับ ซึ่งเป็นผลจาก เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ริกเตอร์ ทางทิศใต้ของประเทศปากีสถาน  เกาะทีมีลักษณะเป็นพื้นที่ต่ำๆ  เคลื่อนที่ขึ้นมา บริเวณห่างจากชายฝั่ง Gwadar   และเป็นดินเหนียวจากภูเขาไฟ  ต่อมามีการวัดขนาดของเกาะ ซึ่งมีความยาว ราว 50 เมตร  กว้าง 20 เมตร และสูง 10 เมตร Asif  Inam นักธรณีวิทยาทางทะเล แห่งสถาบัน    National Institute  of Oceanography (NIO) ณ กรุง  Karachi  กล่าวว่า การสั่นไหวสะเทือน อาจเป็นสาเหตุให้เกิดดินโคลน ที่มีส่วนผสมของก๊าซมีเทน  ที่โผล่ขึ้นมาจากพื้นท้องทะเลและก่อให้เกิดเป็นเกาะขึ้นมา สถาบัน NIO  มีแผนจะทำการสำรวจพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อค้นหาลักษณะที่คล้ายคลึงกันนี้ต่อไป อ้างอิง : Pakistan

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

บริษัท Thomson Reuters ทำนายรางวัลโนเบลปี 2013

เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2013  ณ รัฐฟิลาเดียวเฟีย สหรัฐอเมริกา  แผนก IP & Science Business ของบริษัท Thomson Reuters ได้ประกาศคำทำนายผู้ที่คาดว่าจะได้รับรางวัลโนเบลปี 2013  โดยที่ผ่านมาบริษัท  Thomson Reuters ได้เริ่มทำนายรางวัลโนเบลมาตั้งแต่ปี 2002  และสามารถทำนายได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ถึงชื่อของผู้ที่มีชัยชนะได้รับรางวัลโนเบล ถึง 27 ท่าน    Thomson Reuters ได้กำหนดทำนายรายปี ด้วยวิธีการศึกษา Bibliometrics ที่วิเคราะห์จากข้อมูลผลงานวิจัยตีพิมพ์ สาขาวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้รายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่เป็นผู้ที่มี อิทธิพลในสาขา เคมี ฟิสิกส์ แพทยศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ สำหรับรางวัลโนเบล ในปี 2013 นี้ Thomson Reuters  ได้ทำนายรายชื่อผู้ที่คาดว่าจะได้รับรางวัลโนเบล ใน 4 สาขา    มีชื่อของผู้ที่มีชื่อเสียง เช่น Francois

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

วิธีทดสอบความเป็นพิษต่อผิวหนังโดยไม่ใช้สัตว์ทดลอง

จากเผยแพร่ในวารสาร Chemical Research in Toxicology เพื่อต้องการลดการใช้สัตว์ทดลองในการทดสอบเครื่องสำอางที่ผลิตขึ้นใหม่และส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ใหม่ต่อความเป็นพิษต่อผิวหนัง คณะนักวิจัยได้พัฒนาวิธีใหม่ในการทดสอบความเป็นต่อผิวหนังโดยไม่ใช้สัตว์ทดลอง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 42 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ไวรัส Newcastle สามารถกำจัดเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จากเผยแพร่ในวารสาร Journal of Virology คณะนักวิจัยจาก the Virginia-Maryland Regional College of Veterinary Medicine พัฒนาไวรัส Newcastle ให้สามารถกำจัดเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม– ( 39 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ไข้หวัดใหญ่ในอากาศ

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง ไข้หวัดใหญ่ในอากาศ เจิร์มที่มีขนาดเล็กพอที่สามารถผ่านหน้ากากกรองฝุ่นละอองได้อาจเป็นสาเหตุของโรคต่างๆถึง 50% เป็นอะไรที่ง่ายมากๆ ที่เราจะเป็นไข้หวัดใหญ่ได้ เพียงแค่หายใจ – ( 22 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เครื่องประดับอัญมณีโบราณจากอวกาศ

เว็บไซต์วิชาการ.คอม นำเสนอข่าววิทย์เรื่อง เครื่องประดับอัญมณีโบราณจากอวกาศ ชาวอียิปต์ใช้โลหะที่ได้จากอุกกาบาตมาผลิตเป็นอัญมณีมานานมากกว่า 5000 ปีที่แล้ว อัญมณีในอียิปต์โบราณไม่ได้ดูเป็นแค่เพียงเครื่องประดับ บางสิ่งของมันนั้นเป็นสิ่งที่มหัศจรรย์มาก นี่คือข้อสรุปจาก สองกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาลูกปัดเหล็กจากสร้อยคอของชาวอียิปต์โบราณ พวกเขาพบว่าลูกปัดเหล่านั้นถูกทำมาจากโลหะที่ถลุงออกมาจากอุกกาบาต และการผลิตนั้นไม่ได้ง่ายเลย โลหะจากต่างดาวถูกให้ความร้อนและทุบตีเป็นแผ่น จากนั้นจึงม้วนเป็นรูปทรงกระบอก – ( 79 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments