magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Posts tagged "nstda"
formats

NSTDA Investor’s Day 2015

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ (สวทช.) จัดงาน “NSTDA Investors’ Day 2015” ภายใต้แนวคิด “พัฒนาชาติ พัฒนาธุรกิจ ด้วยพลังวิทย์และนวัตกรรม” เพื่อ ให้กลุ่มนักธุรกิจมีโอกาสเข้าถึงผลงานวิจัยไทยที่มี ศักยภาพเชิงพาณิชย์ พร้อมถ่ายทอดและต่อยอดสู่ภาคเอกชนให้เกิดการลงทุนในธุรกิจเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น ภายในงานพบกับการนำเสนอ 5 ผลงานเด่นจาก สวทช. ที่มีศักยภาพพร้อมสำหรับการลงทุน  ได้แก่ “ฝึกฝน” ระบบบำบัดผู้ป่วยอัมพฤกษ์ด้วยเกมส์แอนนิเมชั่น “blueAMP” ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและทับทิม แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ “PoreMat” เถ้าแกลบในรูปเม็ดที่มีสมบัติความพรุนตัวสูง “Magic Stone” แผ่นทดแทนหินธรรมชาติจากวัสดุรีไซเคิลแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ “B-Fresh” ซองบรรจุสารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ จุลินทรีย์ นอกจากการนำเสนอ 5 ผลงานเด่นจาก สวทช. ที่มีศักยภาพพร้อมสำหรับการลงทุนแล้ว ภายในงานยังมีการบรรยายพิเศษ และการเสวนาพิเศษในหัวข้อที่น่าสนใจ – ( 62 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การโจรกรรมทางวิชาการ Plagiarism

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : การโจรกรรมทางวิชาการ Plagiarism บรรยายโดย : นายสรวง อุดมสรภัณฑ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย การโจรกรรมทางวิชาการ (Plagiarism) นิยาม คือ การคัดลอกผลงานหรือขโมยคามคิดของคนอื่น โดยไม่อ้างอิงให้ถูกต้อง การกระทำที่เข้าข่าย Plagiarism ศึกษาได้จากเว็บไซต์ plagiarism.org เช่น การคัดลอกข้อความ หรือ ความคิดของผู้อื่นโดยไม่อ้างอิง หรือ ให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในแหล่งที่มาของข้อความที่นำไปใช้ ไม่ใช้เครื่องหมาย ” “ เพื่อแสดงว่าคัดลอกมาฯลฯ สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้คือ ระบบอินเทอร์เน็ตที่ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และง่าย ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้สำเนาข้อมูล (copy and

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments 
formats

ข้อควรระวังในการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาในงานวิจัย

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : ข้อควรระวังในการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาในงานวิจัย บรรยายโดย : ดร.เพียงเพ็ญ บุตรกตัญญู สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาในหลายๆ ส่วน ทั้งลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ฯลฯ ลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับงานเขียน (วรรณกรรม) ศิลปกรรม นาฏกรรม ดนตรีกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ต้องมี 2 ส่วน คือ Originality และ Creativity เกิดขึ้นทันทีไม่ต้องนำไปจดทะเบียน แต่สามารถนำไปจดแจ้งได้ (Notification) ผู้สร้างสรรค์เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวไม่ใช่นายจ้าง การละเมิดได้แก่ การทำซ้ำ (อัพโหลด) ดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : การประเมินคุณภาพวารสารวิชาการไทยด้วยหลักการ Bibliometrics บรรยายโดย : ศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ คณะพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย ศูนย์ TCI (Thai Journal Citation Index) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2544 ศึกษาค่า Impact Factor ปัจจุบันมีอายุครบ 12 ปี โดยได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ศูนย์ TCI ปัจจุบันมีภาระงานที่สูงมาก ทั้ง สกอ. สมศ. สกว. ใช้ข้อมูลของ TCI ในการรับรองผลงานตีพิมพ์

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access บรรยายโดย : รศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย ขั้นตอนหนึ่งของงานวิจัย คือ การตีพิมพ์ผลงานเผยแพร่ในปัจจุบันจะเป็น Publish หรือ Perish ซึ่งมีตัวชี้วัดปริมาณคุณภาพผลงานวิจัยมากมาย เช่น จำนวนบทความ การอ้างอิง วารสารคุณภาพสูง ฯลฯ จึงมีสำนักพิมพ์หาช่องทางการทำธุรกิจแบบใหม่ในยุค OA วารสารแบบ Traditional Journal ผู้อ่านจะต้องจ่ายคือห้องสมุดบอกรับ จำกัดสิทธิ์ในการเข้าอ่าน ส่วนวารสาร Open Access Journals คือ ผู้แต่งบทความจ่ายค่าตีพิมพ์

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร)

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ  หัวข้อการบรรยาย : สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร) บรรยายโดย : รศ.อังสนา ธงไชย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารประกอบการบรรยาย   สรุปจากการบรรยาย OA เกิดขึ้นเมื่อปี 2004 มีการพัฒนาเรื่อยมาจนเป็นที่ยอมรับจากแนวโน้มของยุคดิจิทัล โมเดล การตีพิมพ์เชิงพาณิชย์ เน้นการตีพิมพ์แบบออนไลน์ซึ่งมีการสร้างคลังเอกสาร (Repository) เป็นคลังเอกสารแบบเปิด (OA) เกิดการสนับสนุนอย่างกว้างขวางมีประโยชน์ต่อการวิจัย นอกจากนี้ OA ยังมีประโยชน์ต่อสังคม เจ้าของผลงาน และ หน่วยงานวิจัยอีกด้วย – ( 239 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments 
formats

การริเริ่มระบบมาตรฐานสากลเอกสารดิจิทัล DOI ประเทศไทย

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ  หัวข้อการบรรยาย : การริเริ่มระบบมาตรฐานสากลเอกสารดิจิทัล DOI ประเทศไทย บรรยายโดย : รศ.ดร.น้ำทิพย์ วิภาวิน สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารประกอบการบรรยาย   สรุปจากการบรรยาย DOI (Digital Objec6 Identifier) เป็นมาตรฐานสากล ISO รหัสบ่งชี้เอกสารดิจิทัลทั้ง วช. และ สวทช. ให้ความสนใจริเริ่มให้มีการศึกษาเรื่องนี้ที่ผ่านมาได้มีการบรรยาย และ การอบรมให้แก่หน่วยที่สนใจ DOI คล้ายกับ ISBN, ISSN แต่มีความแตกต่าง DOI มีลักษณะดังนี้ มาตรฐาน ISO 26324 : 2012 ได้รับการรับรองเมื่อ

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย บรรยายโดย : นางกาญจนา ปานข่อยงาม รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เอกสารประกอบการบรรยาย  สรุปจากการบรรยาย ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย เกิดจากความร่วมมือของหน่วยงานวิจัยหลักของชาติ คือ 6ส. 1ว. มีความร่วมมือในการปฏิรูประบบวิจัยชาติ ซึ่งมีเป้าหมายปฏิรูป 9 มิติสำคัญ คือ นโยบาย การสนับสนุนทุนวิจัย งบวิจัย สถาบันวิจัย บุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน มาตรฐาน การจัดการผลผลิต การประเมิน 9 มิตินี้เป็นการศึกษามาตั้งแต่ปี 2554 จากอดีตเลขาธิการสภาวิจัย นโยบาย ขณะนี้มีนโยบายยุทธศาสตร์ระดับชาติฉบับที่ 8 เป็นกรอบแบ่งตามรายภูมิภาค รวมทั้งเรื่องเร่งด่วนของชาติ

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

MAKER OF SOFT-FLOUR CAKES STRIKES LUCRATIVE DEAL WITH 7-ELEVEN

By partnering with CP All, which runs more than 7,000 7-Eleven convenience stores nationwide, Panya Suksapha, the owner of Chaisit Ritta, has succeeded in making his soft flour cake business known and accessible to consumers in a short time. “It was only me and my wife who started this business in 2000 with first-year sales

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

Software Park eyes global gateway status

Software Park Thailand hopes to be a “global software gateway” for local software firms, thereby generating annual revenue of 3 billion baht by 2016. Chalermpol Tuchinda, the newly appointed director of the state information technology (IT) body under the National Science and Technology Development Agency (NSTDA), said Software Park will act as a matchmaker between

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments