Bird Flu

 

หัวหน้าโครงการ

สังกัด

ชื่อโครงการ

สถานภาพโครงการ

บทคัดย่อ

1

รศ.น.สพ. ดร. ทวีศักดิ์  ส่งเสริม

คณะสัตวแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน

การศึกษาประสิทธิภาพของไข้หวัดนกเชื้อตาย ในการป้องกันโรคไข้หวัดนกในเป็ดและไก่พื้นเมือง

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

2

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา   

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาเทคนิครีเวอร์สจีเนติกส์ของเชื้อไวรัสอินฟลูเอนซ่าชนิดบี เพื่อใช้สร้างไวรัสลูกผสมชนิด Influenza B/A สำหรับพัฒนาเป็นวัคซีนเชื้อเป็นต้านไข้หวัดใหญ่/นกชนิดอ่อนเชื้อ (ระยะที่ 1)

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

3

ดร.ศรีวรรณ วงศ์วิศาลศรี

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การสร้างอนุภาคไวรัสเรืองแสงสีเขียว (green fluorescent protein virus particle) เพื่อใช้ในงานตรวจสอบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อไวรัสในเซลล์ และใช้ในงานตรวจหาแอนติบอดี้ต่อไวรัสโดยวิธี microneutralization assay

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

4

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การปรับตัวของ Quasispecies ของไวรัสไข้หวัดนก H5N1ในเนื้อเยื่อของผู้ติดเชื้อ

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

5

ผศ.น.สพ. ธวัช  เล็กดำรงศักดิ์

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การศึกษาประสิทธิภาพวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดนก ชนิดเชื้อตายต่อการแพร่ของเชื้อไวรัสในนกกระทาญี่ปุ่น

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

6

ศ.พญ.ธารารัชต์  ธารากุล

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การพัฒนาน้ำยาตรวจวินิจฉัยและตรวจแยกชนิดของเชื้อไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนก โดยใช้ประโยชน์จากโมโนโคลนัลแอนติบอดีที่ผลิตในประเทศไทย

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

7

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

โปรแกรมการสร้างเครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยไข้หวัดนกและไข้หวัดใหญ่

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

8

นพ.ปรีชา เปรมปรี

สำนักระบาดวิทยา  กรมควบคุมโรค  กระทรวงสาธารณสุข

การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนกแบบบูรณาการ

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

9

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา   

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้หวัดนกชนิดไวรัสโรคนิวคลาสเซิล เชื้อเป็นที่แสดงโปรตีนที่แมกกลูตินนินของไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ชนิด Fujian-like โดยวิธี Reverse genetics

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

10

ดร.อุไรวรรณ  อินทมาโส   

ภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

การเลือกตอบสนองต่อ epitopes ของ hemagglutinin ของไวรัสไข้หวัดนก H5N1 ในผู้ติดเชื้อ

ได้รับรายงานฉบับที่ 1

word

11

รศ.นพ.ปานเทพ  รัตนากร

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาการแพร่กระจายเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์  H5N1 จากสัตว์ปีกพื้นถิ่นของไทย และนกธรรมชาติที่ติดเชื้อ

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

12

รศ.นพ.ปานเทพ  รัตนากร

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาแอนติบอดีจำเพาะต่อเชื้อไข้หวัดนก เพื่อใช้ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะแอนติเจน และป้องกันรักษาการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

13

ดร.วีระพงศ์ ลุลิตานนท์

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การพัฒนาเชื้อ Recombinant Lactobacillus ที่มีการแสดงออกของโปรทีน Matrix 2 และ Nucleocapsid ของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ ชนิด A

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

14

ผศ.พญ.อรุณี  ธิติธัญญานนท์

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ระบาดวิทยาของเชื้อไข้หวัดนก H5N1 ในสัตว์ปีกพื้นเมืองและนกธรรมชาติในเขตพื้นที่จังหวัด สุพรรณบุรี จังหวัดนครสวรรค์

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

15

ผศ.ดร. กนกวรรณ พุ่มพุทรา

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การพัฒนากระบวนการผลิตวัคซีน influenza (H5N1)

ได้รับรายงานฉบับที่ 3

word

16

ผศ.ดร.จักร  แสงมา

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การทำนายผลการกลายพันธุ์ของโปรตีนฮีแมกกลูตินิน จากเชื้อไข้หวัดนกด้วยการจำลองโครงสร้างทางคอมพิวเตอร์

ได้รับรายงานฉบับที่ 3

word

17

ศ.ดร.พิไลพันธ์ พุทธวัฒนะ

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา และการพัฒนาเทคนิคพื้นฐานเพื่อการศึกษาเชื้อไข้หวัดนก

ได้รับรายงานฉบับที่ 3

word

18

ศ.ดร.อภิชาต สุขสำราญ

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

การปรับเปลี่ยนโครงสร้างสารออกฤทธิ์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด-เอ

ได้รับรายงานฉบับที่ 3

word

19

นพ.ปกรัฐ  หังสสูต

คณะแพทยศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

T cell responses to Human Influenza virus : Background  information for universal Influenza vaccine development

ได้รับรายงานฉบับที่ 5

word

20

ผศ.ดร.พรทิพภา เล็กเจริญสุข

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การพัฒนาระบบพลาสมิดสำหรับการผลิตไวรัสไข้หวัดใหญ่ และไข้หวัดนกจากเซลล์เพาะเลี้ยงโดยใช้เทคนิค reverse genetics

ได้รับรายงานฉบับที่ 5

word

21

ดร.นันท์ชญา  วรรณเสน

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การศึกษาการกระตุ้น type I interferons โดย negative-sense viral RNAs จากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

22

นพ.ปฐม  สวรรค์ปัญญาเลิศ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์  กระทรวงสาธารณสุข

การวิจัยพัฒนาระบบกระบวนการผลิตวัคซีนไข้หวัดนกชนิด Cell culture ระยะที่ 1: การศึกษาเบื้องต้นในระดับขวดเพาะเลี้ยง

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

23

ศ.นพ.ยง  ภู่วรวรรณ

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์เพื่อการป้องกันไข้หวัดนก

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

24

รศ.น.สพ.ดร.เลิศรัก  ศรีกิจการ

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การพัฒนารายละเอียดโครงการวิจัยการนำต้นแบบการจัดการอย่างมีส่วนร่วมโดยชุมชน และอปท.ไปใช้ใน การเฝ้าระวัง สื่อสารความเสี่ยง และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคระบาดสัตว์ปีก (ที่รวมโรคไข้หวัดนก)

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

25

ศ.ดร.วันเพ็ญ  ชัยคำภา

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การผลิตแอนติบอดีสายเดี่ยวของมนุษย์ชนิดโมโนโคลนาลต่อโปรตีนของไวรัส H5N1 เพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ในคนโดยใช้เทคนิคฟาจดิสเพลย์

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

26

นพ.วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

ASSESSMENT OF PANDEMIC HUMAN INFLUENZA PREPAREDNESS: PROVINCIAL RESOURCE NEEDS, AVAILABILITY AND GAPS

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

 

27

ผศ.ดร.เสาวคนธ์  ภคอัครเลิศกุล

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาวิธีการตรวจหาสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ neuraminidase ของ Influenza virus H5N1

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

28

ดร. อนันต์ จงแก้ววัฒนา   

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพวิธีจำแนกสัตว์ปีกติดเชื้อไข้หวัดนก ชนิด H5N1 ออกจากสัตว์ปีกที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดนกประเภท Heterologous Neuraminidase โดยวิธี ELISA

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

29

ผศ.นพ.อนุชา  อภิสารธนรักษ์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต

Reducing Influenza Transmission Among Healthcare Workers in a Thai Setting: A Model for Hospital Pandemic Influenza Preparedness

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

30

ดร.จักร  แสงมา

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การคัดสรรตัวยับยั้งเอนไซม์นิวรามินิเดส จากฐานข้อมูลสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของไทย โดยวิธีเคมีคอมพิวเตอร์ ระยะที่ 2

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

31

ดร.จักร  แสงมา

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การคัดสรรตัวยับยั้งเอนไซม์นิวรามินิเดส จากฐานข้อมูลสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของไทยโดยวิธีเคมีคอมพิวเตอร์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

32

ดร.ชะวะนี  ทองพันชั่ง

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 

การสังเคราะห์ Oselteamivir phosphate ในระดับห้องปฎิบัติการ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

33

ศ.พญ.ธารารัชต์  ธารากุล

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การพัฒนาและผลิตโมโนโคลนัลแอนติบอดี และแอนติเจนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนกแต่ละชนิด

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

34

รศ.ดร. ธีรยุทธ  วิไลวัลย์

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การพัฒนาวิธีการสังเคราะห์โอเซลทามิเวียร์ในระดับห้องปฎิบัติการ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

35

รศ.ดร. ธีรยุทธ  วิไลวัลย์

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผลิตโอเซลทามิเวียร์ในรูปแบบฟรีคาร์บอกซิเลต เพื่อใช้ในการวิจัยไข้หวัดนก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

36

ผศ. น.สพ. ดร. นิวัตร จันทรศิริพรชัย

คณะสัตวแพทยศาสตร  จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การพัฒนาและทดสอบคุณลักษณะของไวโรโซม ที่เตรียมจากเชื้อไวรัสเอเวี่ยนอินฟลูเอ็นซ่าชนิดเอช5เอ็น1(H5N1)

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

37

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การจัดตั้งเครือข่ายการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของเชื้อไวรัสไข้หวัดนก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

38

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

Quasispecies ของไวรัส H5N1 ในเนื้อเยื่อของผู้ติดเชื้อ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

39

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

เทคโนโลยีการสร้างไวรัสไข้หวัดนกด้วยวิธี reverse genetic

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

40

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

พยาธิกำเนิดของ Avian influenza virus (H5N1) ในมนุษย์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

41

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

Characterization of a potentially human-to-human transmissible avian influenza  virus (H5N1)

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

42

ศ.ดร.พิไลพันธ์ พุทธวัฒนะ

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การเฝ้าระวัง reassorment  ของไวรัสไข้หวัดนก avian H5N1 influenza viruses

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

43

ศ.ดร.พิไลพันธ์ พุทธวัฒนะ

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาสายพันธุ์ไข้หวัดนกจากผู้ป่วยในประเทศไทย

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

44

ศ.นพ.ยง  ภู่วรวรรณ

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การพัฒนาชุดตรวจเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (subtype H1,H3 และ H5) และ B โดยใช้เทคนิค Multiplex RT-PCR และ Multiplex TaqMan real-time RT-PCR

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

45

ศ.นพ.ยง  ภู่วรวรรณ

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การพัฒนาชุดตรวจ Multiplex RT-PCR เพื่อวินิจฉัย กลุ่มเชื้อไวรัส Avian Influenza ชนิด H5,H7 และ H9

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

46

ศ.นพ.ยง  ภู่วรวรรณ

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การพัฒนาชุดตรวจ RT-PCR เพื่อวินิจฉัยเชื้อไวรัส Influenza A สายพันธุ์ H5N1 ที่พบในประเทศไทย

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

47

ศ.พญ.รวงผึ้ง สุทเธนทร์   

ภาควิชาจุลชีววิทยา  คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดนกขั้นพรีคลินิก : วัคซีนชนิด recombinant subunit protein

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

48

รศ.ดร.วสันต์ จันทราทิตย์

คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาประสิทธิภาพสารสกัดจากธรรมชาติ ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเพิ่มจำนวน  Influenza virus type A ในหลอดทดลอง

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

49

รศ.ดร.วสันต์ จันทราทิตย์

คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัส Influenza A สายพันธุ H5 N1 ด้วยเทคนิคอณูชีววิทยา Real-time Gene Amplification

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

50

ดร.ศรีวรรณ วงศ์วิศาลศรี

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพื่อใช้ในการผลิตวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดนก โดยการเพิ่มปริมาณปริมาณ ?-2-3-sialyltransferase I (ST3GAL1) และ serine protease (TMPRSS2)

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

51

คุณศิริทิพย์ วิริยะวิจิตรา

บริษัท อินโนวา ไปโอเทคโนโลยี จำกัด

การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยไข้หวัดนกรุ่นใหม่โดยหลักการไบโอเซนเซอร์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

52

รศ.ดร.ศุขธิดา  อุบล

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาบทบาทของ quasispecies ของเชื้อไข้หวัดนก (H5N1) ต่อการเปลี่ยน host และ host susceptibility

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

53

ศ.นพ.สิริฤกษ์  ทรงศิวิไล

บริษัท อินโนวา ไปโอเทคโนโลยี จำกัด

การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดให้ผลอย่างรวดเร็ว

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

54

ดร.สุกัญญา  ยงเกียรติตระกูล

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การศึกษากระบวนการผลิต การสกัดบริสุทธ์ และการทดสอบการทำงานของเอ็นไซม์ Neuraminidase ของเชื้อไข้หวัดนก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

55

ดร.สุรีย์มาศ  บัวเทศ

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาหาความไวต่อการติดเชื้อและกลไกการเกิดพยาธิสภาพของ cell line ตับของคน (HC-04) ที่มีต่อเชื้อไวรัส H5N1 ซึ่งมี PB2 แบบ 627E หรือมี PB2 แบบ 627K

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

56

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา   

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

Determination of cross reactivity of anti-hemagglutinin antibodies of avian influenza virus subtype H5N1 to hemagglutinin of A/PR/8/34 (H1N1) virus using ELISA assay

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

57

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา   

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาวัคซีนสัตว์ปีกที่สามารถจำแนกสัตว์ปีกติดเชื้อ ออกจากสัตว์ปีกที่ได้รับวัคซีนโดย วิธี Reverse Genetics จากเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ประเทศไทย

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

58

ผศ.นพ.อนุชา  อภิสารธนรักษ์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต

การเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสไขัหวัดใหญ่และไข้หวัดนก ที่เป็นสาเหตุของโรคปอดบวม ในผู้ป่วยที่มีอาการปอดบวมอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน ในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word