magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Archive for category "เทคนิคการทำงาน" (Page 2)
formats

เปลี่ยนเศษแก้วเหลือทิ้งเป็นหินฟองน้ำไล่ยุงด้วยนาโน

หลังจากดำเนินกิจการด้านกระจกก่อสร้างอาคารมานาน และพบว่าในแต่ละเดือนมีเศษกระจกเหลือทิ้งหลายสิบตัน ทายาทธุรกิจจึงเกิดแนวคิดสร้างมูลค่าจากของเหลือ จนกลายเป็นหินประดับสวนที่มีกลิ่นหอมไล่ยุง พลัฏฐ์ เลียวกิจสิริ เผยว่าเขาเป็นทายาทรุ่น 2 ของ บริษัท ไทยเทคโนกลาส จำกัด ซึ่งมีธุรกิจผลิตกระจกสำหรับอาคาร โดยแต่ละเดือนต้องซื้อกระจกมาผลิตถึง 400 ตัน และมีเศษกระจกเหลือทิ้งที่ต้องขายคืนโรงหล่อกระจกมากถึง 40 ตัน ในฐานะผู้จัดการฝ่ายนวัตกรรมของบริษัท พลัฏฐ์จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จากเศษกระจกดังกล่าว และแก้ปัญหาให้แก่บริษัท และพบว่ามีงานวิจัยที่นำเศษกระจกไปทำเป็นแก้วรูพรุน หรือ หินฟองน้ำสำหรับใช้ประดับสวนได้– ( 27 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

บก.ทล.เตรียมพร้อมรับ’สงกรานต์’ตั้งเป้ายอด’ตาย-บาดเจ็บ’ต้องลดลง

กองบังคับการตำรวจทางหลวง (บก.ทล.) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2503 มีหน้าที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี ตรวจตรารักษาความสงบเรียบร้อยป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาและจราจรให้บริการประชาชนผู้ใช้ทางให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยในเขตทางหลวงและทางพิเศษที่อยู่ในอำนาจรับผิดชอบและควบคุมดูแลการใช้ทางหลวงให้เป็นไปตามกฎหมาย ปัจจุบัน พล.ต.ท.พงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง(ผบช.ก.) ในฐานะผู้ควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ กองบังคับการตำรวจทางหลวงให้เป็นไปตามนโยบาย ได้พยายามที่จะทำให้ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการสอบสวนกลางเป็นตำรวจผู้รับใช้ชุมชนอย่างยั่งยืนเนื่องจากประชาชน คือหัวใจสำคัญในความสำเร็จของงานตำรวจ หากตำรวจห่างจากประชาชน การทำงานของตำรวจจะประสบปัญหามากมาย เทคโนโลยี และวิธีทำงานรูปแบบเดิมๆ กำลังทำให้ตำรวจออกห่างจากประชาชนมากขึ้นทุกที หากต้องการความสำเร็จแล้วตำรวจต้องกลับหลังหันมาหาประชาชน – ( 20 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

Tap water salty as seawater enters Chao Phraya

To tackle the crisis of a massive amount of seawater in the Chao Phraya River that has led to salty tap water, a Water and Flood Management Commission sub-panel has adjusted the water-release plan and dispatched water-pushing boats. A water-treatment system has been installed Siriraj Hospital to deal with the problem. The sub-panel’s chairman, Royol

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ภัยเงียบจากการใช้คอมพิวเตอร์ (1)

โรคที่มากับคอมพิวเตอร์ในที่นี้ไม่ใช่ “ไวรัสคอมพิวเตอร์” หรือ “โปรแกรมตัวหนอน” ซึ่งเป็นบ่อนทำลายข้อมูลในคอมพิวเตอร์ แต่หมายถึงความเจ็บป่วยที่อาจเกิดจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ทำงานเกือบทุกอย่าง รวมทั้งใช้เพื่อความเพลิดเพลิน การศึกษาและการติดต่อสื่อสารต่างๆ ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะยิ่งมีบทบาทมากขึ้นในชีวิตประจำวันจนแทบขาดไม่ได้ อย่างไรก็ตาม สิ่งใดที่มีประโยชน์มากก็อาจมีโทษมหันต์ ในแง่สุขภาพของเราการใช้คอมพิวเตอร์อาจมีพิษภัยต่อสุขภาพได้ถ้าใช้ไม่ถูกวิธี ซึ่งความเจ็บป่วยที่ว่าอาจเกิดจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นานเกินไป โดยเกิดขึ้นได้กับอวัยวะต่างๆ และทำให้เกิดโรคได้ ตา ในขณะที่จ้องดูจอคอมพิวเตอร์จะมีส่วนของนัยน์ตาอย่างน้อย 2 ส่วนที่ต้องทำงานส่วนแรกคือ กล้ามเนื้อตาที่จะต้องคอยหดเกร็งตัวเพื่อปรับเลนส์ตาให้มีความหนาเหมาะสมให้แสงจากจอไปตกบนฉากรับภาพด้านหลังตาหรือที่เรียกว่า เรตินา (retina) เพื่อให้ได้ภาพคมชัด ดังนั้น ถ้าดูจอคอมพิวเตอร์ต่อเนื่องกันนานๆ กล้ามเนื้อตาจะต้องทำงานหนักจนกล้ามเนื้ออาจเกิดอาการล้าได้นานวันก็อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของสายตา เช่น สายตาสั้นหรือสายตายาว อีกส่วนที่ต้องทำงานหนักคือ จอรับภาพด้านหลังตาหรือเรตินา ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด ชนิดหนึ่งเป็นแท่ง ทำหน้าที่รับแสงไม่สว่างมากเช่น ภาพดำขาว อีกชนิดหนึ่งเป็นรูปโคนรับแสงที่สว่าง เช่น ภาพสีต่างๆ แล้วส่งสัญญาณไปยังสมอง สองส่วนนี้ หากใช้งานหนักหรือจ้องจอนานเกิน 2 ชั่วโมงบ่อยๆ อาจทำให้การทำงานของเรตินาเสื่อมก่อนเวลาอันควร ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ที่ถูกต้องจึงไม่ควรใช้สายตาดูหน้าจอนานเกินไป  และควรมีการพักสายตา โดยการเปลี่ยนไปมองระยะไกลๆ บ้างสัก 10-15 นาที  จึงค่อยกลับมาใช้คอมพิวเตอร์ใหม่– (

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

หยุดสั่งงานลูกน้อง 24 ชม.

สำนักข่าวไทย นำเสนอข่าวต่างประเทศ 4 ธ.ค. 2013  – ขณะนี้กำลังเกิดกระแสฮอตฮิตในหมู่บริษัทยักษ์ใหญ่ (GE, BMW) ของโลกมากมายว่า การสั่งงานลูกน้องผ่านอีเมลตลอด 24 ชั่วโมงนั้น นอกจากสิ้นเปลืองมหาศาลแล้ว ยังจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงด้วย ติดตามในคอลัมน์ “มองโลก มองเรา” ของสำนักข่าวไทย ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมและชมภาพข่าวได้ที่เว็บไซต์ สำนักข่าวไทย อสมท. – http://www.mcot.net/site/content?id=529e82bd150ba04504000250#.Up6fWeKDjGg– ( 15 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

เร่ขายฝันจราจร (รอบที่ 2)

ผมเคยเร่ขายฝันเรื่องการแก้ปัญหาจราจรในบ้านเราไปครั้งหนึ่งในช่วงเลือก ตั้งผู้ว่าฯ กทม. มาวันนี้หลายหน่วยงานเริ่มตั้งใจจะแก้ปัญหาจราจรอีกครั้ง เนื่อง จากเคยเป็นส่วนหนึ่งของงานด้านระบบจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System) มา พอจะเห็นว่า มีแนวคิดหลายอย่างที่ยังไม่ได้ถูกหยิบมาใช้ให้เป็นรูปเป็นร่าง ยก ตัวอย่างเช่น ในบ้านเรา สิ่งที่พยายามหากันและเก็บเป็นข้อมูลไว้ได้แล้วส่วนหนึ่ง คือ เวลาที่ใช้ในการผ่านถนนแต่ละช่วง ซึ่งเวลานี้มีประโยชน์มากสำหรับผู้ใช้รถใช้ถนน เนื่องจากผู้ใช้รถเอง จะสามารถคำนวณได้ว่า เวลาที่ต้องใช้ในการเดินทางทั้งหมดเป็นเท่าไร หากต้องเดินทางในเวลานั้น ๆ– ( 46 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

บทเรียนจากไต้หวัน

ประเทศไต้หวันมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 38 ของโลก เมื่อใช้เกณฑ์ Gross Domestic Product หรือ GDP ต่อหัว (ประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 92 : ข้อมูลจาก IMF ปี 2555) และมีอัตราการเติบโตของจีดีพีเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 8 ต่อปี ตลอด 30 ปีที่ผ่านมา ระบบเศรษฐกิจของไต้หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรมเพียงร้อยละ 3 ของจีดีพี ลดลงจากร้อยละ 35 เมื่อ 60 ปีก่อนหน้า แต่พึ่งพาภาคบริการถึงร้อยละ 73 ของจีดีพี โดยที่อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานได้ย้ายฐานการผลิตไปยังต่างประเทศ ซึ่งประเทศเหล่านั้นก็รวมทั้งประเทศไทยอยู่ด้วย – ( 105 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

โครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ประจำปี 2557 และโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเซิร์น ประจำปี 2557

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) รับสนองพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระประสงค์ให้นิสิต นักศึกษาของไทย ได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรม 1.    โครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ณ สถาบันเดซี เมืองฮัมบูร์ก หรือเมืองซอยเธน สาธารณรัฐเยอรมนี  เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติการวิจัยระยะสั้นที่เกี่ยวข้องกับการทดลองสาขา ฟิสิกส์ของอนุภาคมูลฐาน (Experiments in Elementary Particle Physics)   การทดลองที่ใช้แสงซินโครตรอน (Experiments with Synchrotron Radiation) งานวิจัยเกี่ยวกับเครื่องเร่งอนุภาค (Research on Accelerators) ทฤษฎีของอนุภาคมูลฐาน (Theory of Elementary Particles) และงานเกี่ยวกับการคำนวณ (Computing in High Energy Physics) ในช่วงภาคฤดูร้อน 2.    โครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเซิร์น ณ เซิร์น สมาพันธรัฐสวิส  เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเข้าฝึกอบรมความรู้ทางด้านฟิสิกส์ในรูปแบบของสห วิทยาการ ผสมผสานกับบรรยากาศของวัฒนธรรมที่หลากหลายของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ และยังได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้กับนักฟิสิกส์ที่มีชื่อ เสียงจากทั่วโลกรวมถึงร่วมทำงานกับนักวิจัยจากสถาบันเครือข่ายของ

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

พัฒนาธุรกิจด้วย วิทย์+เทคโนโลยี

เมื่อเร็วๆ นี้เอง ผมเพิ่งมีโอกาสเข้าไปเยี่ยมเว็ปไซต์ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช.ก็พบข้อมูลหลายประการที่เป็นผลงานและความประสงค์ที่จะทำให้เรื่องของ องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้ โดยเฉพาะในการส่งเสริมหรือสนับสนุนให้ธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขันที่สูง ขึ้น ประเด็นที่ผมเข้าไปสืบค้นข้อมูลในเว็ปของ สวทช. ก็เพื่อที่จะดูว่า งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของ สวทช. นั้นจะมีอะไรบ้างที่เป็นแนวทางการสนับสนุนธุรกิจในยุคของเศรษฐกิจสีเขียว ที่มีขอบข่ายกว้างกว่า เออีซี ซึ่งเป็นเรื่องในระดับภูมิภาค– ( 259 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

พริมา ยนตรรักษ์จิตอาสาวัยใส’เพื่อผู้ยากไร้

น่าเสียดายที่ปัจจุบันเด็กไทยมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมน้อยมาก เพราะใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับกองตำรา และเรียนกวดวิชา จนมองข้ามคุณค่าของจิตสาธารณะ ซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง สถานศึกษา ควรตระหนักควรปลูกฝังให้แก่เด็ก เยาวชนทุกยุคทุกสมัย นี่คือคำพูดของ พริมา ยนตรรักษ์ หรือ น้องแพท วัย 16 ปี โรงเรียนนานาชาติฮาร์โรว์ เล่าว่า แพทเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะตั้งแต่เด็กๆ ทั้งที่โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ อย่าง เมื่อ 2 ปีก่อน ได้เดินทางไปมอบอุปกรณ์การเรียนให้กับน้องๆ ในถิ่นทุรกันดารหลายแห่ง จังหวัดนครราชสีมา พร้อมทั้งได้ทำการบันทึกวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ปรากฏว่าน้องๆ น้ำหนักตัวและส่วนสูงได้มาตรฐาน แพท ตั้งข้อสังเกตว่าเด็กเหล่านี้ครอบครัวมีฐานะยากจนแต่ไม่ได้ขาดสารอาหาร จึงซักถามว่าอาจารย์ ผู้ปกครอง และเด็กว่า รับประทานอะไร ได้รับคำตอบว่า “แมลง” เช่น มดแดง หนูนา หนอน ฯลฯ– ( 69 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments