magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Posts tagged "OPAC"
formats

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับโรงเรียน

บริการหนึ่งของห้องสมุดไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็คือ การทำบัญชีทรัพยากรสารสนเทศ โรงเรียนที่มีความพร้อมก็สามารถจัดซื้อจัดหาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (Automated Library) หรือระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ (ILS – Integrated Library System) มาใช้เพื่อบริการจัดการทรัพยากรสารสนเทศและบริการผู้ใช้ ซึ่งก็คือนักเรียน ในขณะที่ห้องสมุดที่มีงบประมาณจำกัด อาจจะไม่สามารถจัดซื้อจัดหาได้ แต่ด้วยกระแสซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส (Open Source Software: OSS) ที่ช่วยให้สามารถปรับประยุกต์ OSS มาใช้งานได้ จึงมีการเลือก OSS มาพัฒนา ILS หรือ Automated Library ให้โรงเรียน จากที่ได้มีโอกาสทำงานร่วมกับหลายหน่วยงานเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีประเด็นที่น่าสนใจ 2 – 3 ประเด็นที่อยากนำเสนอ ได้แก่ – ( 229 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments 
formats

ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ หัวข้อการบรรยาย : ผลงานวิชาการจอมปลอมใน Open Access บรรยายโดย : รศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกสารประกอบการบรรยาย สรุปจากการบรรยาย ขั้นตอนหนึ่งของงานวิจัย คือ การตีพิมพ์ผลงานเผยแพร่ในปัจจุบันจะเป็น Publish หรือ Perish ซึ่งมีตัวชี้วัดปริมาณคุณภาพผลงานวิจัยมากมาย เช่น จำนวนบทความ การอ้างอิง วารสารคุณภาพสูง ฯลฯ จึงมีสำนักพิมพ์หาช่องทางการทำธุรกิจแบบใหม่ในยุค OA วารสารแบบ Traditional Journal ผู้อ่านจะต้องจ่ายคือห้องสมุดบอกรับ จำกัดสิทธิ์ในการเข้าอ่าน ส่วนวารสาร Open Access Journals คือ ผู้แต่งบทความจ่ายค่าตีพิมพ์

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร)

การประชุมวิชาการประจำปี 2556 ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “สารสนเทศเพื่อการิจัยในยุค Open Access” วันที่ 27-28 มิถุนายน 2556 ห้องบอลรูม 1 ชั้น 3 โรงแรมดิเอ็มเมอรัล กรุงเทพฯ  หัวข้อการบรรยาย : สถานการณ์การเผยแพร่ผลงานวิชาการในยุค OA (บริการสารสนเทศเพื่องานวิจัย : จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมได้อย่างไร) บรรยายโดย : รศ.อังสนา ธงไชย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารประกอบการบรรยาย   สรุปจากการบรรยาย OA เกิดขึ้นเมื่อปี 2004 มีการพัฒนาเรื่อยมาจนเป็นที่ยอมรับจากแนวโน้มของยุคดิจิทัล โมเดล การตีพิมพ์เชิงพาณิชย์ เน้นการตีพิมพ์แบบออนไลน์ซึ่งมีการสร้างคลังเอกสาร (Repository) เป็นคลังเอกสารแบบเปิด (OA) เกิดการสนับสนุนอย่างกว้างขวางมีประโยชน์ต่อการวิจัย นอกจากนี้ OA ยังมีประโยชน์ต่อสังคม เจ้าของผลงาน และ หน่วยงานวิจัยอีกด้วย – ( 239 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
1 Comment  comments