magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home ASEAN ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety)
formats

ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety)

การสัมมนา เรื่อง ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety)วันอังคารที่ 2 เมษายน 2556 ในการประชุมวิชาการประจำปี 2556 สวทช. ครั้งที่ ครั้งที่ 9 ซึ่งจัดภายใต้หัวข้อเรื่อง “ความพร้อมสู่ AEC ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” นั้น

โรคอาหารเป็นพิษจากจุลินทรีย์ก่อโรคและอันตรายทางเคมี เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขสำาคัญที่ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพของประชาชน และเป็นอุปสรรคสำาหรับการค้าอาหารระหว่างประเทศที่ทำาให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ดังนั้น ระบบความปลอดภัยของอาหารที่มีประสิทธิภาพจึงจัดว่าเป็นเรื่องที่สำาคัญและเป็นประเด็นท้าทายสำาหรับทั้งผู้ผลิต
และหน่วยงานรัฐที่ดูแลความปลอดภัยอาหาร

ความปลอดภัยของอาหารเป็นเรื่องสำคัญประการหนึ่งของการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนของประชาคมอาเซียน และเป็นการเร่งให้เกิดโอกาสขนาดใหญ่ต่ออุตสาหกรรมอาหารของไทยเป็นอย่างยิ่งโดยสินค้าอาหารของอาเซียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในตลาดโลกอาเซียนจึงเน้นความสำาคัญเรื่องการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานการรับรองความปลอดภัยของอาหารรวมถึงการจัดทำาระบบการรับรองสินค้าอาหารและเกษตรให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อเสริมสร้างระบบและกระบวนการในการควบคุมคุณภาพของอาหารและมีความปลอดภัยมากขึ้นในภูมิภาคอาเซียน

วิทยากรประกอบด้วย นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ได้นำแนวทางการแก้ไขปัญหาความปลอดภัยอาหาร (Food Safety)

มาตรฐานความปลอดภัยอาหารเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วัตถุประสงค์ความปลอดภัยอาหาร

  •  คุ้มครองผู้บริโภค
  • ลดผลกระทบเชิงลบในการปฏิบัติในการผลิตและแปรรูป
  • คงความน่าเชื่อถือของสินค้าในตลาด
  • ทำให้สมารถเข้าถึงตลาด สร้างความมั่นใจมนสินค้าส่งออก

ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety)

  • ความมั่นใจ อาหารจะไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เมื่อจัดเตรียม บริการ หรือบริโภค
  • ความสามารถในการควบคุมด้านความปลอดภัยของอาหารของสมาชิกกลุ่มอาเซียน

แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม

  • กลุ่มที่มีความสามารถสูง ในการควบคุมความปลอดภัย (ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย)
  • กลุ่มที่เริ่มมีความสามารถ ในการควบคุมความปลอดภัย (อินโดนีเชีย บรูไน ฟิลลิปปินส์ และเวียดนาม)
  • กลุ่มที่กำลังเริ่มให้ความสำคัญ ในการควบคุมความปลอดภัย (พม่า ลาว กัมพูชา)

ปญหาดาน Food Safety ในปจจุบัน

  • การใชสารเรงเนื้อแดง และฮอรโมนตางๆ
  • การปนเปอนของเชื้อโรคตางๆ และสารพิษ
  • การใชยาปฏิชีวนะตองหามในการเลี้ยงสัตว และตกคาง
  • GMOs
  • Dioxin & BSE
  • Heavy metal
  • อาหารปนปลอม เชน ไสกรอกผสมเนื้อมา
  •  Missed label ในไขไกในยุโรป
  • การปนเปอนในนม ทั้งในจีนและยุโรป
  • ฯลฯ

Food Security ตองประกอบดวย

  •   มีปริมาณอาหารเพียงพอกับประชากร
  •  ตองมีปริมาณ ที่สม่ำเสมอ
  • ตองเขาถึงไดตามสถานะทางเศรษฐกิจ
  • ตองมีความปลอดภัยตอสุขภาพ
  • แนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับ AEC
  • ขยายตลาดสงออก
  • ปกปองตนเอง
  • ยกระดับมาตรฐานปศุสัตวไทยใหสูงกวา

คูแขงของไทยใน AEC

  • ผูประกอบการทองถิ่นใน AEC
  •  ผูประกอบการตางชาติใน AEC(ยุโรป อเมริกา)
  • ประเทศสมาชิกคูแขง (เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร)
  • ประเทศนอก AEC (จีน อินเดีย เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน)

สิ่งที่ตองพิจารณา

  • พื้นฐานดานเศรษฐกิจไทย vs AEC
  • พื้นฐานดานเทคโนโลยีการผลิต
  • พื้นฐานกฎหมายดานสิ่งแวดลอม และมาตรฐานตางๆ
  • วัฒนธรรมการบริโภคและคานิยมตางๆ
  • ความสามารถดานการแขงขัน และตนทุนการผลิต
  • ตอง Bench Mark เปนรายประเทศ

การเปนผูนําในดานอาหารปลอดภัยของไทย

  1. การใหความรูดานความปลอดภัย คุณคา และโทษของอาหารแกประชาชน
  2. การสรางจิตสํานึกดาน Food Safety แกประชาชนในระดับตางๆ และการรักษาสิทธิของตนเองที่พึงมีอยูโดยกฎหมาย
  3. การเรงสรางมาตรฐาน กฎเกณฑตางๆ ดานความปลอดภัยของอาหาร และการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง
  4. การสงเสริมจากภาครัฐในการสนับสนุน และดําเนินนโยบายครัวของโลกอยางเปนรูปธรรม
  5. การพัฒนาและสนับสนุนหองปฏิบัติการที่ทันสมัย และผูเกี่ยวของสามารถเขาถึงในทุกระดับ
  6. กําหนดมาตรฐานหนึ่งเดียวสําหรับ Food Safety

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://nstda.or.th/nac2013/2-3seminar.php– ( 564 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

*


3 × = twenty four

You may use these HTML tags and attributes: <a href="" title=""> <abbr title=""> <acronym title=""> <b> <blockquote cite=""> <cite> <code> <del datetime=""> <em> <i> <q cite=""> <strike> <strong>