เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2567 ณ สำนักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์: สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) โดย น.ส.ณิฏฐา คุ้มโต นักวิชาการอาวุโส นายชนะชัย แสนทวีสุข ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยี พร้อมด้วย รศ.ดร.ประกิจ สมท่า และ ผศ.ดร.กนกวรรณ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะทำงานโครงการ “การขยายผลเทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวคุณภาพสายพันธุ์ KUML ด้วยกลไกตลาดนำการผลิตปี 2” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ประชุมชี้แจงและสร้างความร่วมมือการดำเนินโครงการฯ กับสำนักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์ บริษัท พุเตยวัฒนา เกษตรภัณฑ์ จำกัด และร้านวาสนาการเกษตร ภาคเอกชนที่รับซื้อผลผลิต โดยมีเกษตรอำเภอเมืองเพชรบูณ์
สท.-สนง.เกษตรศรีสะเกษ-เอกชน นำร่อง 6 อำเภอ ขยายผลปลูกถั่วเขียว KUML ด้วยกลไกตลาดนำการผลิต
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2567 ณ สำนักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษ: สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) โดย น.ส.ณิฏฐา คุ้มโต นักวิชาการอาวุโส นายชนะชัย แสนทวีสุข ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยี พร้อมด้วย รศ.ดร.ประกิจ สมท่า และ ผศ.ดร.กนกวรรณ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะทำงานโครงการ “การขยายผลเทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวคุณภาพสายพันธุ์ KUML ด้วยกลไกตลาดนำการผลิตปี 2” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ประชุมชี้แจงและสร้างความร่วมมือการดำเนินโครงการฯ กับสำนักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษ ห้างหุ้นส่วนจำกัด สิริบูรณ์จงเจริญไพศาล ภาคเอกชนที่รับซื้อผลผลิต และเกษตรอำเภอจาก 6 อำเภอในจังหวัดศรีสะเกษ (อำเภอเมืองจันทร์
สท.-ธ.ก.ส.-กรมส่งเสริมการเกษตร ขยายผลส่งเสริมปลูกถั่วเขียว KUML ให้เกษตรกรพักชำระหนี้จังหวัดศรีสะเกษ-อำนาจเจริญ
เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2567 น.ส.วิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สวทช. และผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมประชุมหารือการส่งเสริมการปลูกถั่วเขียว KUML ให้เกษตรกรพักชำระหนี้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยมีนายวิชัย ศรีโพธิ์งาม เกษตรจังหวัดศรีสะเกษ เป็นประธานการประชุม นายอนุวัตร โสภา ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายกิจการสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ธ.ก.ส. และนางขวัญญรัตน์ จงเสรีจิตต์ ผู้บริหารห้างหุ้นส่วนจำกัด ศิริบูรณ์จงเจริญไพศาล ผู้รับซื้อถั่วเขียว KUML ในจังหวัดศรีสะเกษ เข้าร่วมหารือแนวทางการทำงานภายใต้กลไกตลาดนำการผลิต นอกจากนี้ สวทช. โดย สท. และ ธ.ก.ส. ยังได้หารือร่วมกับนายวัชรากร กิจตรงศิริ ผู้บริหารบริษัท
ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้มันสำปะหลังอินทรีย์
“ภูมิใจที่เราได้ทำของปลอดภัยให้คนอื่นกิน และยังเป็นผลิตภัณฑ์ส่งออก ได้ช่วยคนต่างประเทศให้มีสุขภาพที่แข็งแรง” ความรู้สึกของ หลุยส์ ธรรมเที่ยง เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์บ้านผาชัน ต.สำโรง อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี ไม่ต่างจาก รังสรรค์ อยู่สุข เกษตรกรบ้านคำฮี ต.นาคาย อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี “ดีใจและภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ปลอดภัยที่เริ่มต้นจากเกษตรกร” หลุยส์ และ รังสรรค์ เป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในระบบอินทรีย์ด้วยกลไกตลาดนำการผลิต ซึ่งสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ร่วมกับบริษัท อุบล ไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) หรือ UBE นำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ โดยดำเนินงานกับกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษและอำนาจเจริญ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดินด้วยเทคโนโลยี Smart NPK
สวทช.-สวก.-กรมส่งเสริมการเกษตร ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ นำร่อง 160 ราย พื้นที่ 500 ไร่ ผลผลิตเพิ่ม 20-30%
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 ณ แปลงเกษตรกรต้นแบบ (นายรังสรรค์ อยู่สุข) หมู่ 10 ต.นาคาย อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี: นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธานเปิดงานวันถ่ายทอดผลงานวิจัยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลังอินทรีย์สู่เกษตรกรเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจำปี 2567 โดยมีนางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. เกษตรจังหวัดอุบลราชธานี ภาคเอกชนและเกษตรกรในพื้นที่เข้าร่วมงาน นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวว่า กรมส่งเสริมการเกษตรมีความมุ่งมั่นส่งเสริมให้เกษตรกรมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยได้รับการส่งเสริมพัฒนาขีดความสามารถการผลิตและจัดการสินค้าตามความต้องการของตลาดได้ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยได้รับบริการทางการเกษตรและองค์ความรู้จากการศึกษา
เกษตรกรเฮปลูกถั่วเขียวคุณภาพ KUML รายได้ไม่ธรรมดา สวทช.-พันธมิตรหนุนปลูกครบวงจรใช้กลไก ‘ตลาดนำการผลิต’
เมื่อวันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2567 ณ จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดศรีสะเกษ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) นำสื่อมวลชนลงพื้นที่ร่วมกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร (Press Tour) เพื่อเยี่ยมชมความสำเร็จโครงการการขยายผลเทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวคุณภาพสายพันธุ์ KUML ด้วยกลไกตลาดนำการผลิต เป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ปีงบประมาณ 2566 นางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้สนับสนุนทุนวิจัยให้ ศาสตราจารย์ ดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ และ รศ. ดร.ประกิจ
สท. จับมือหน่วยงานรัฐ-เอกชนอบรมผลิตถั่วเขียว KUML ด้วยกลไกตลาดนำการผลิต
เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2566 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สำนักงานเกษตรอำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ และบริษัท ข้าวดินดี จำกัด จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “เทคโนโลยีการผลิตพืชหลังนาแบบครบวงจร: ถั่วเขียวพันธุ์ KUML” ณ กลุ่มวิสาหกิจร่วมใจโนนค้อทุ่ง ต.โพนเมืองน้อย อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ โดยมี รศ.ดร.ประกิจ สมท่า ผช.ดร.กนกวรรณ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน และคุณแคทลิยา เอกอุ่น นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ เป็นวิทยากรให้ความรู้ นอกจากนี้ยังมีตัวแทนจากบริษัท ข้าวดินดี จำกัด ร่วมให้ข้อมูลการรับซื้อผลผลิตคุณภาพ
สท. เสริมความรู้ หนุนกลไกตลาดนำการผลิต เพิ่มพื้นที่ปลูกถั่วเขียวพันธุ์ KUML ที่สุพรรณบุรี
เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2566 ณ สหกรณ์การเกษตรสามชุก จำกัด จ.สุพรรณบุรี: สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สำนักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเกษตรอำเภอสามชุก สำนักงานเกษตรอำเภอดอนเจดีย์ และสำนักงานเกษตรอำเภอหนองหญ้าไซ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “เทคโนโลยีการปลูกพืชหลังนาแบบครบวงจร: ถั่วเขียวพันธุ์ KUML” ให้เกษตรกรและเจ้าหน้าที่เกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี รวมกว่า 80 คน โดยมี รศ.ดร.ประกิจ สมท่า และ ผศ.ดร.กนกวรรณ เที่ยงธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน เป็นวิทยากรให้ความรู้ และคุณมนตรี สมงาม ฝ่ายส่งเสริมการเพาะปลูก บริษัท กิตติทัต จำกัด ร่วมให้ข้อมูลการรับซื้อผลผลิต
สท. ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ขยายเครือข่ายการผลิตถั่วเขียว KUML อย่างครบวงจร
จากการทำงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวสายพันธุ์ใหม่ KUML โดยใช้กลไกตลาดนำการผลิต ส่งผลให้ถั่วเขียว KUML เป็นที่รู้จักและเป็นที่ต้องการของทั้งเกษตรกรและตลาด เกิดการขยายผลเทคโนโลยีและสร้างเครือข่ายการทำงานเพิ่มขึ้น ในช่วงเดือนที่ผ่านมา น.ส.ณิฏฐา คุ้มโต นักวิชาการอาวุโส ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ได้ร่วมนำเสนอแนวทางและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการสร้างเครือข่ายการผลิตถั่วเขียว KUML ให้เจ้าหน้าที่ นักวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการทำงานร่วมกันต่อไป “การพัฒนาและยกระดับเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตถั่วเขียว KUML เป็นรายได้เสริมหลังนาด้วยกลไกตลาดนำการผลิต” ในงานประชุมวิชาการพืชวงศ์ถั่วแห่งชาติ ครั้งที่ 8 “นวัตกรรมวิจัย พืชวงศ์ถั่วไทย เพื่อความมั่นคงทางอาหาร” เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดโดย สมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น (บทความวิชาการ การพัฒนาและยกระดับเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตถั่วเขียว