magnify
magnify

Open Knowledge for all 

Home Articles posted by pensiri (Page 127)
formats

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ละลายได้

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสถาบันเบกแมน ในมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์บทความเผยแพร่ในวารสารไซน์ซ เปิดเผยถึงความสำเร็จในการคิดค้นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ละลายในร่างกาย มนุษย์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ รวมถึงสร้างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้ นวัตกรรมใหม่ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานอยู่ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ก่อนจะละลายหายไป ออกแบบโดยทีมวิจัยทีมเดียวกันกับทีมที่คิดค้น “รอยสักอิเล็กทรอนิกส์” หรือ “อิเล็กทรอนิกส์ แทตทู” ซึ่งหมายถึงการติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ลงบนผิวหนังด้วยวิธีการสัก ซึ่งจำเป็นต้องคิดค้นอุปกรณ์ที่สามารถยืดหยุ่นติดกับผิวหนังของมนุษย์ได้ เพื่อใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบการเต้นของหัวใจของผู้ป่วยโรคหัวใจอยู่ตลอด เวลา – ( 136 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อุตุฯภาคเหนือแฉ ไทยเคยมีหิมะตก

เมื่อเวลา 10.00 น.วันที่ 8 ต.ค. นายวรพจน์ คุณาวิวัฒนางกูร เวรพยากรณ์อากาศศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ เปิดเผยว่าความกดอากาศสูงจากประเทศจีนปกคลุมภาคเหนือตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณภาคเหนือมีปริมาณและการกระจายของฝนลดลงและอุณหภูมิ จะลดต่ำลง 1-2 องศา โดยอุณหภูมิต่ำสุดเช้านี้วัดได้ 9.5 องศา ส่วนตัวเมืองเชียงใหม่วัดได้ 16.8 องศา – ( 168 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ช็อก!! กฎใหม่คลิกทุกครั้งต้องจ่ายตังค์

เรื่องจริงที่กำลังจะเกิดขึ้นในไม่ช้า อย่าชะล่าใจ เพราะเป็น 1 ใน 15 ข้อของสนธิสัญญาการบริหารเครือข่ายโทรคมนาคมของโลก หรือ อินเทอร์เน็ต เทเลคอมมูนิเคชั่น เร็กกูเรชั่น (Internet Telecommunication Regulation : ITR) ซึ่งเป็นกฎหมายระหว่างประเทศที่ได้มีการตกลงให้แก้ไขเนื้อหาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 (พ.ศ.2553) โดยปลายเดือน ธ.ค.2555 ประเทศสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ราว 180 ประเทศจะมีการลงนามในสนธิสัญญาดังกล่าว ระหว่างการประชุมด้านโทรคมนาคมซึ่งไอทียูจัดขึ้นที่ประเทศดูไบ – ( 113 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ถกกับนักฟิสิกส์ เรื่อง”การเดินทางข้ามเวลา”

เมื่อปลายเดือนกันยายนที่ผ่านมา มีภาพยนตร์แนวแอ๊กชั่น-ไซไฟ เรื่อง “ลูปเปอร์” ลงโรงฉายในสหรัฐอเมริกา (บ้านเราจะออกฉายในวันที่ 11 ตุลาคม) เนื้อหาเป็นเรื่องของการเดินทางข้ามกาลเวลาของตัวเอกในเรื่อง ในภาพยนตร์ “โจ” ที่แสดงโดย โจเซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์ เป็นมือฆ่ารับจ้างที่ถูกว่าจ้างให้สังหารเป้าหมายรายหนึ่ง เรื่องมาขมวดปมเอาที่ บรูซ วิลลิส เป้าหมายที่ “โจ” ต้องสังหารกลับเป็นคนที่ถูกส่งข้ามกาลเวลากลับมา แถมยังเป็นตัวของ “โจ” ในอนาคตด้วยอีกต่างหาก – ( 94 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

รู้ทัน..เบาหวาน โรคที่ทุกคนมีความเสี่ยง

“เบาหวาน” ไม่ใช่โรคติดต่อ ไม่ใช่โรคติดเชื้อ แต่เป็นโรคเรื้อรังที่จะส่งผลให้ร่างกายค่อยๆ เสื่อมลงเรื่อยๆ ความจริงแล้วโรคนี้ไม่ได้ทำให้คนเสียชีวิต แต่เพราะเป็นโรคที่นำมาซึ่งโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ที่จะส่งผลต่อระบบการทำงานภายในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น หัวสมอง หัวใจ ตา ไต หรือ เท้า ฯลฯ – ( 153 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

พื้นที่น้ำแข็ง”มหาสมุทรอาร์คติก”ลดลงต่ำสุดในรอบ 33 ปี

ทางการสหรัฐฯเปิดเผยว่า น้ำแข็งบริเวณทะเลอาร์คติกหรือขั้วโลกเหนือ ลดต่ำลงเตะระดับต่ำสุดในรอบปี และถือเป็นระดับต่ำที่สุดนับตั้งแต่มีการเก็บข้อมูลโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเมื่อปี 1979 พื้นที่ที่เป็นน้ำแข็งของปีนี้ ลดลงสู่ระดับ 3.41 ล้านตารางกิโลเมตร หรือลดลง 50% จากค่าเฉลี่ยที่วัดได้ระหว่างปี 1979-2000 ทั้งนี้ น้ำแข็งบริเวณทะเลอาร์คติก มักถูกใช้เป็นเกณฑ์วัดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่มีความอ่อนไหวของโลก นักวิทยาศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์การละลายของน้ำแข็งเชื่อว่านี่เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน – ( 84 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

“สิ่งมีชีวิตต่างดาว”มีหรือไม่? จะรู้กันได้ในอีกไม่กี่ทศวรรษ

นักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์หลายคนเชื่อว่า ปริศนาทางวิทยาศาสตร์สำคัญประการหนึ่ง คือ มีสิ่งมีชีวิตในต่างดาวหรือไม่ จะเป็นที่รับรู้กันในอีกไม่กี่สิบปีข้างหน้า เพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์กับโครงการสำรวจต่างๆ ที่รุดหน้าไปมากในขณะนี้ ทำให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมขึ้นมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นยานสำรวจอวกาศห้วงลึก เคปเลอร์ ขององค์การบริหารการบินอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ของสหรัฐอเมริกา ที่ทำหน้าที่จับตามองดาวฤกษ์ต่างๆ นอกระบบสุริยะอยู่มากกว่า 150,000 ดวง หรือแม้แต่การสำรวจพื้นผิวดาวอังคารของ คิวเรียสซิตี้ ที่กำลังดำเนินอยู่ในเวลานี้ ที่เชื่อว่าจะทำให้ได้ข้อมูลและหลักฐานเกี่ยวกับพัฒนาการในยุคเริ่มแรกของประวัติศาสตร์ดาวอังคารเป็นต้น – ( 119 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

ยาน”คิวริออสซิตี”พบร่องรอย”ธารน้ำ”บนดาวอังคาร

หลังจากที่ขึ้นไปบนดาวอังคารได้เพียง 7 สัปดาห์ ยานคิวริออสซิตีของนาซาได้พบหลักฐานร่องรอยของเส้นทางน้ำไหลในอดีต ภาพที่ถูกส่งมายังนาซาเป็นภาพของพื้นดินแห้งที่มีหินกรวดมนที่ประกอบขึ้นจากกรวดและทราย นักวิทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจครั้งนี้เผยว่า ขนาดและความกลมของช่องว่างภายในก้อนหิน ชี้ว่าหินดังกล่าวมีการเคลื่อนที่และถูกกัดกร่อนโดยกระแสน้ำ ซึ่งอาจเชื่อมโยงไปถึงเครือข่ายของธารน้ำในสมัยโบราณ – ( 167 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

อยากสวยต้องอ่าน! อาหาร 10 ชนิด ที่กินแล้วช่วยให้ผิวสวย

ใครที่มีพันธุกรรมดี ได้ยีนส์เด่นจากพ่อแม่มาเต็มๆ นับว่าเป็นโชคดีที่เกิดมามีหน้าตาน่ามองกว่าคนทั่วไป แต่สำหรับคนหน้าตาธรรมดาๆ ที่แม้จะไม่ได้โดดเด่นเมื่อแรกเห็น แต่อยากมีผิวพรรณสดใส สะท้อนให้เห็นถึงการดูแลตัวเองจากภายใน ต้องฟังทางนี้ – ( 110 Views)

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments 
formats

กูเกิลรำลึกวันเกิด’นีลส์บอร์’127ปี

Google Doogle เปลี่ยนโลโก้ รำลึกครบรอบวันเกิด 127 ปี “นีลส์ บอร์” นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลชาวเดนมาร์ก ผู้ขยายต่อยอดทฤษฎีโครงสร้างอะตอมให้ก้าวหน้าไปเป็นอันมาก 7 ต.ค.  55  Google Doogle เปลี่ยนโลโก้รำลึกครบรอบวันเกิด นีลส์ บอร์ (Niels Hendrik David Bohr – พ.ศ. 2428-2505) นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก เกิดที่กรุงโคเปนเฮเกน จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกนแล้วจึงได้ไปทำงานที่ประเทศอังกฤษ ที่เมืองเคมบริดจ์ และแมนเชสเตอร์ ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันฟิสิกส์ทฤษฎีที่โคเปนเฮเกนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 จนถึงแก่กรรม นีลส์ บอร์ ได้ขยายต่อยอดทฤษฎีโครงสร้างอะตอมให้ก้าวหน้าไปเป็นอันมาก จากการให้การอธิบายสเปกตรัมของไฮโดรเจน โดยวิธีสร้างแบบจำลองไฮโดรเจนและทฤษฎีควอนตัม (พ.ศ. 2456) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 บอร์ได้ไปช่วยโครงการวิจัยระเบิดปรมาณูที่ สหรัฐอเมริกาและกลับโคเปนเฮเกนเมื่อสิ้นสงครามในปี พ.ศ. 2488, นีลส์ บอร์ เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการสถาบันฟิสิกส์ทฤษฎีที่โคเปนเฮเกน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์เมื่อ พ.ศ. 2465 รายการอ้างอิง :

Read More…

 
 Share on Facebook Share on Twitter Share on Reddit Share on LinkedIn
No Comments  comments