Skip to content
นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช.

นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช.

ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์เพื่อคุณ

  • หน้าแรก
  • นิตยสารสาระวิทย์
  • Podcast รายการ Sci เข้าหู
  • ข่าววิทย์ไทย
  • คอลัมน์ประจำ
    • Cover Story
    • Sci Delight
    • Sci Variety
    • สาระวิทย์ในศิลป์
    • ร้อยพันวิทยา
    • สภากาแฟ
    • เปิดโลกดาราศาสตร์
    • ปั้นน้ำเป็นปลา
    • เลขเปลี่ยนโลก
    • คำคมนักวิทย์
  • บทความพิเศษ
    • “มารี กูรี” หนึ่งหญิง ผู้เปลี่ยนโฉมหน้าโลกวิทยาศาสตร์
    • สุขภาพและการแพทย์
    • การเกษตรและสิ่งแวดล้อม
    • คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
    • ดาราศาสตร์และอวกาศ
    • เทคโนโลยีชีวภาพ
    • เทคโนโลยีนาโน
    • สาระความรู้
  • ติดต่อเรา
Sarawit TV
  • Home
  • คอลัมน์ประจำ
  • Sci-Infographic
  • อาหารที่ควรเลี่ยงในผู้ป่วยโรคเกาต์
  • Sci-Infographic

อาหารที่ควรเลี่ยงในผู้ป่วยโรคเกาต์

นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. 08/04/2022

          โรคเกาต์เป็นโรคข้อที่เกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง จนเกิดการตกตะกอนของกรดยูริกในข้อหรือเนื้อเยื่อรอบๆข้อ ทำให้เกิดโรคข้ออักเสบ บวม และแดง ซึ่งหากได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องโรคนี้สามารถรักษาหายได้

          ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคเกาต์ ได้แก่ ภาวะอ้วน, พันธุกรรม, ยาบางชนิด เช่น  ยาขับปัสสาวะ และยาแอสไพริน, โรคความดันโลหิตสูง และอาหารที่มีกรดยูริกสูง ดังนั้นผู้ป่วยโรคเกาต์จึงควรรับประทานยาตามแพทย์สั่ง ไปพบแพทย์ตามนัด ดื่มน้ำมาก ๆ และหลีกเลี่ยงหรือจำกัดอาหารที่มีพิวรีนสูง (Purine) เนื่องจากพิวรีนสามารถเปลี่ยนเป็นกรดยูริกได้ภายในร่างกาย เช่น

          1. เหล้า

         2. เบียร์ 

         3. เครื่องในสัตว์

          4. อาหารทะเล

          5. อาหารประเภทที่มีไขมันสูง

          6. สัตว์ปีก

          7. สัตว์เนื้อแดง

          8. ยอดผัก เช่น หน่อไม้ ชะอม กระถิน ยอดผักคะน้า ยอดผักหวาน ยอดผักบุ้งจีน ยอดฟักทอง ยอดตำลึง

          9. เมล็ดพืช ธัญพืชชนิดต่าง ๆ

          10. กะปิ     

          11. ถั่วดำ ถั่วแดง

          ส่วนอาหารที่มีพิวรีนต่ำ สามารถบริโภคได้ เช่น ผักเกือบทุกชนิด (ยกเว้นยอดผัก) ผลไม้ ไข่  นม เนยแข็ง เมล็ดข้าวขัดสี แป้ง (ยกเว้นแป้งสาลี)

          จะเห็นได้ว่าหากเลือกรับประทานอาหาร จะสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเกาต์ได้ แต่อย่างไรก็ตามอาหารก็เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ ที่ทำให้เกิดโรคเกาต์

          ทางที่ดีแนะนำให้ไปตรวจร่างกายประจำปี และหากพบว่าตัวเองมีอาการที่อาจแสดงว่าเป็นโรคเกาต์ แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อที่จะได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง


ข้อมูล และความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพจาก อย.

นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช.

ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์เพื่อคุณ
sarawit@nstda.or.th

See author's posts

Post Views: 2,716
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

Related

Tags: โรคเกาต์

Continue Reading

Previous: มะนาวโซดา ไม่ได้รักษามะเร็ง
Next: เด็กทารกห้ามกินน้ำผึ้ง จริงหรือ?

Related Stories

ใครกันนะที่เป็นคนริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่
  • Sci-Infographic
  • คอลัมน์ประจำ

ใครกันนะที่เป็นคนริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่

21/10/2022
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออินทผลัมพันธุ์บาฮี ตรงตามพันธุ์ ขยายพันธุ์เร็ว มูลค่าสูง
  • Sci-Infographic
  • คอลัมน์ประจำ

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออินทผลัมพันธุ์บาฮี ตรงตามพันธุ์ ขยายพันธุ์เร็ว มูลค่าสูง

13/05/2022
เด็กทารกห้ามกินน้ำผึ้ง จริงหรือ?
  • Sci-Infographic
  • คอลัมน์ประจำ

เด็กทารกห้ามกินน้ำผึ้ง จริงหรือ?

09/05/2022

สาระน่าอ่านที่ไม่ควรพลาด

ม.มหิดล – UNDP เตรียมขยายผลวิจัยเพื่อความเข้าใจหลากหลายทางเพศสู่นโยบาย
  • ทั่วไป

ม.มหิดล – UNDP เตรียมขยายผลวิจัยเพื่อความเข้าใจหลากหลายทางเพศสู่นโยบาย

08/06/2023
ม.มหิดล นครสวรรค์ ปรับหลักสูตร SMART Farmer สร้างคนสร้างรายได้เพื่อเกษตรยั่งยืน
  • ทั่วไป

ม.มหิดล นครสวรรค์ ปรับหลักสูตร SMART Farmer สร้างคนสร้างรายได้เพื่อเกษตรยั่งยืน

08/06/2023
ม.มหิดล แนะดูแลโรคหัวใจในกลุ่มดาวน์ซินโดรมอย่างยั่งยืน มอบโอกาส-หยุดตีตรา
  • ทั่วไป

ม.มหิดล แนะดูแลโรคหัวใจในกลุ่มดาวน์ซินโดรมอย่างยั่งยืน มอบโอกาส-หยุดตีตรา

08/06/2023
ม.มหิดล ชี้ทางออกวิกฤติ ‘วัวแดง’ ใกล้สูญพันธุ์ เพาะเลี้ยงใหม่-บริหารจัดการคุณภาพ
  • ทั่วไป

ม.มหิดล ชี้ทางออกวิกฤติ ‘วัวแดง’ ใกล้สูญพันธุ์ เพาะเลี้ยงใหม่-บริหารจัดการคุณภาพ

03/06/2023
Sarawit E-Magazine Copyright © All rights reserved. | DarkNews by AF themes.