Flu

 

หัวหน้าโครงการ

สังกัด

ชื่อโครงการ

สถานภาพโครงการ

บทคัดย่อ

1

ดร. บรรพต ศิริเดชาดิลก

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การศึกษาทางโครงสร้างเบื้องต้นของโปรตีน NS1 จากไวรัสไข้เลือดออกโดยการวิเคราะห์อนุภาคเชิงเดี่ยวด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

2

Prof. Dr. Duncan R. Smith

สถาบันวิจัยชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

การค้นหาและแยกลักษณะของโปรตีนตัวตอบรับของเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสบนผิวเซลล์ของยุงพาหะ

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

3

รศ.ดร.นพพร  สิทธิสมบัติ

คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การพัฒนาวัคซีนทดสอบแบบ subviral particle เพื่องป้องกันโรคติดเชื้อ flavivirus

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

4

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล

สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล

โครงการ  การศึกษาทางไวรัสวิทยาและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันในลิงหลังจากได้รับวัคซีนไข้เลือดออกชนิดเชื้อเป็น (Chimeric Dengue 1 Viruses)

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

5

ดร.พูนสุข กีฬาแปง

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การปรับปรุงเชื้อไวรัสเด็งกี่สายพันธุ์ 16681-PDK53 สำหรับใช้ในการสร้างวัคซีนทดสอบเพื่อป้องกันโรคจากการติดเชื้อ flavivirus

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

6

ศ.นพ. เกียรติ  รักษ์รุ่งธรรม 

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Research and Development of  Dengue Tetravalent  DNA-based  Vaccine (First Phase)

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

7

ดร.นิชา เจริญศรี

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลการเปลี่ยนแปลงลำดับกรดแอมิโนในบริเวณปลายคาร์บอกซีของโปรตีน prM และ E ของไวรัสเดงกีต่อปริมาณการหลั่ง prM และ E จากเซลล์ยุง C6/36

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

8

ดร. บรรพต ศิริเดชาดิลก

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนากรรมวิธีเพื่อแยก Viral replication vesicles จากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่เพื่อการศึกษาทางชีวเคมี,โปรตีโอม,และโครงสร้าง

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

9

รศ.ดร. วิจิตรา เลิศกมลกาญจน์

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

การสร้างและการประเมิน replicons ของไวรัสเด็งกี่ (wt & 5'NCR mutants) ที่ติดสารเรืองแสง GFP

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

10

ผศ.ดร.พญ. ปนิษฎี  อวิรุทธ์นันท์

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของ NS1 โปรตีนของไวรัสไข้เลือดออกกับพยาธิกำเนิดของโรคไข้เลือดออก

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

11

ดร. ชัญญา พุทธิขันธ์

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาชุดตรวจ ELISA เพื่อแยกซีโรทัยป์ของโปรตีน NS1 ในซี่รั่มผู้ป่วยไข้เลือดออก

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

12

ผศ.ดร.สง่า พัฒนากิจสกุล

คณะแพทยศาสตร์  ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาโปรตีนที่เปลี่ยนแปลงในเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ด้วยเทคนิคโปรตีนโอมิกส์

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

13

รศ.ดร. ศุขธิดา อุบล

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

การใช้เทคนิค gene array analysis ศึกษา gene profile ในเซลล์เจ้าบ้านซึ่งติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

14

ดร.สุธา  เสงี่ยมบุตร

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

Investigation of the Nuclear Localization of Dengue Core Protein and Its Importance for the Replicative Ability of Dengue Virus

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

15

ดร.ศันสนีย์ น้อยสคราญ

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

Generation and Characterization of Dengue Virus NS1 N-Linked Glycosylation Site Mutants

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

16

รศ.ดร.ศุขธิดา อุบล

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษากลไกการทำงานของ enhancing antibody ในการส่งเสริมการเพิ่มจำนวนของไวรัสไข้เลือดออกในเซลล์โมโนไซต์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

17

Prof. Dr. Duncan R. Smith

สถาบันวิจัยชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

การค้นหาและแยกลักษณะของโปรตีนตัวตอบรับของเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสบนผิวเซลล์ของยุงพาหะ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

18

ดร.ประพัฒน์  สุริยผล

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เครื่องหาลำดับเบส Roche GS20 ในการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อไวรัสเด็งกี่จากพลาสมาของผู้ป่วย

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

19

นพ. ปรีดา  มาลาสิทธิ์    

หน่วยอณูชีววิทยาการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การพัฒนาวิธีวินิจฉัยไข้เลือดออกอย่างรวดเร็วและเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจหาไวรัส Dengue

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

20

นพ. ปรีดา  มาลาสิทธิ์    

หน่วยอณูชีววิทยาการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การศึกษาคุณสมบัติและผลิตโปรตีนและเปปไตด์ของไวรัสไข้เลือดออก โดยวิธีการทำชีววิศวกรรมในระบบสังเคราะห์โปรตีนแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในการผลิตชุดตรวจวินิจฉัยไข้เลือดออก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

21

ผศ.ดร. กนกวรรณ พุ่มพุทรา

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การผลิตโปรตีนของไวรัสไข้เลือดออกโดยใช้  Baculovirus Expression Insect cell System

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

22

ดร.พูนสุข กีฬาแปง

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การผลิตรีคอมบิเนนท์โปรตีนของไวรัสเด็งกี่ในยีสต์ พิเชีย พาสทอรีส

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

23

ดร. ชัญญา พุทธิขันธ์

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาวิธีการผลิตโปรตีนคอมบิแนนต์ของเด็งกี่ไวรัสเพื่อใช้ในชุดตรวจวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์