Skip to content
NSTDA SPACE Education

NSTDA SPACE Education

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์อวกาศ และสะเต็มสำหรับเยาวชนไทย โดย สวทช.

  • Home
  • About Us
  • Space Ratchaphruek
  • AHiS
  • Asian Try Zero-G
  • Kibo-RPC
  • Parabolic Flight
  • National Space Exploration
  • News
  • Contact us
  • Home
  • News & Articles
  • ดาวเทียมโอสุมิ (Ohsumi Satellite) เป็นดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น
  • News & Articles

ดาวเทียมโอสุมิ (Ohsumi Satellite) เป็นดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น

NSTDA SPACE Education 18/10/2022
ดาวเทียมโอสุมิ (Ohsumi Satellite) เป็นดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น และเป็นดวงแรกของเอเชีย ทำให้ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศที่ 4 ของโลก (ถัดจากสหภาพโซเวียต สหรัฐฯ และฝรั่งเศส) ที่ส่งดาวเทียมสู่วงโคจรด้วยตนเอง
 
ดาวเทียมโอสุมิ ยิงขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เวลา 04:25 UTC ด้วยจรวดแลมบ์ดา 4S-5 โดยสถาบันอวกาศและวิทยาศาสตร์การบินอวกาศ (Institute of Space and Astronautical Science หรือ ISAS) ของญี่ปุ่น (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ JAXA) ปล่อยจรวดที่ศูนย์อวกาศคาโกชิมะ (ปัจจุบันคือศูนย์อวกาศอุจิโนอุระ)
 
ชื่อ “โอสุมิ” ตั้งตามเมืองโอสุมิในเกาะทางใต้ ดาวเทียมโอสุมิมีน้ำหนัก 24 กิโลกรัม โคจรรอบโลกด้วยระยะใกล้สุด 323 กิโลเมตร และระยะไกลสุด 2440 กิโลเมตร โคจรรอบโลกอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 33 ปี ก่อนปลดระวางและตกสู่โลกเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2546
 
การปล่อยดาวเทียมครั้งนี้ยังมีความพิเศษ เนื่องจากเป็นหนึ่งในไม่กี่กรณีในโลกที่ดาวเทียมได้รับการพัฒนาเพื่อวัตถุประสงค์ที่ไม่ใช่ทางการทหาร แต่เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางวิชาการที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัยได้สำเร็จ
 
ข้อมูลจาก The University of Tokyo
https://www.u-tokyo.ac.jp/en/whyutokyo/hongo_hi_009.html
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

Related

Tags: Ohsumi Satellite ดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น ดาวเทียมโอสุมิ

Continue Reading

Previous: ศูนย์อวกาศอุจิโนะอุระ (JAXA Uchinoura Space Center)
Next: ประกาศผลรางวัล APRSAF Space Achievement ประจำปี 2022

Related Stories

International Space University (ISU) Space Study Program
  • News & Articles

International Space University (ISU) Space Study Program

31/01/2023
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
  • Asian Try Zero-G
  • News & Articles

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

25/01/2023
นภสร จงจิตตานนท์ คว้ารางวัล SIRIUS Award สำหรับวิทยานิพนธ์ด้านการจัดการในอุตสาหกรรมอวกาศ
  • News & Articles

นภสร จงจิตตานนท์ คว้ารางวัล SIRIUS Award สำหรับวิทยานิพนธ์ด้านการจัดการในอุตสาหกรรมอวกาศ

12/12/2022

NSTDA Space Education

Popular Posts

  • โครงการ Asian Herb in Space (AHiS) 23.7k views
  • โครงการแข่งขัน The 2nd Kibo Robot Programming Challenge 9.4k views
  • โครงการ Asian Try Zero-G 2022 ท้าทาย ท้าไทย ไอเดียสุดปิ๊ง ทดลองจริงในอวกาศ 7.7k views
  • โครงการแข่งขัน The 3rd Kibo Robot Programming Challenge 6.7k views
  • รายชื่อทีมสมัครเข้าร่วมโครงการ Asian Herb in Space (AHiS) 5.2k views

You may have missed

International Space University (ISU) Space Study Program
  • News & Articles

International Space University (ISU) Space Study Program

31/01/2023
นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ
  • Asian Try Zero-G
  • News & Articles

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

25/01/2023
พิธีส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ เฟสที่ 1
  • Asian Herb in Space
  • ราชพฤกษ์อวกาศ

พิธีส่งมอบต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ เฟสที่ 1

21/12/2022
นภสร จงจิตตานนท์ คว้ารางวัล SIRIUS Award สำหรับวิทยานิพนธ์ด้านการจัดการในอุตสาหกรรมอวกาศ
  • News & Articles

นภสร จงจิตตานนท์ คว้ารางวัล SIRIUS Award สำหรับวิทยานิพนธ์ด้านการจัดการในอุตสาหกรรมอวกาศ

12/12/2022
NSTDA SPACE Education Copyright © All rights reserved. | DarkNews by AF themes.