Skip to content
NSTDA SPACE Education

NSTDA SPACE Education

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์อวกาศ และสะเต็มสำหรับเยาวชนไทย โดย สวทช.

  • Home
  • About Us
  • Asian Try Zero-G
  • Kibo-RPC
  • AHiS
  • Space Ratchaphruek Tree
  • Parabolic Flight
  • Articles
  • Alumni
  • Contact us
  • Home
  • News & Articles
  • การแข่งขัน International Space Challenge ประจำปี 2022 ชิงเงินรางวัล 10,000 เหรียญดอลล่าร์สิงคโปร์
  • News & Articles

การแข่งขัน International Space Challenge ประจำปี 2022 ชิงเงินรางวัล 10,000 เหรียญดอลล่าร์สิงคโปร์

NSTDA SPACE Education 18/06/2021
          Singapore Space Challenge กลับมาใหม่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม ในชื่อการแข่งขัน International Space Challenge ประจำปี 2022 ชิงเงินรางวัล 10,000 เหรียญดอลล่าร์สิงคโปร์ (ประมาณ 230,000 บาท)
 
ภายใต้ธีมการแข่งขัน “Space Weather”
 
          สภาพอวกาศ (space weather) หมายถึง ผลที่เกิดจากปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดจากกิจกรรมบนดวงอาทิตย์ เช่น การปะทุที่ผิวดวงอาทิตย์ (solar flare) การปลดปล่อยก้อนมวลจากโคโรนา (coronal mass ejection: CME) การเกิดพายุสุริยะ (solar magnetic storm) เป็นต้น ทำให้อนุภาคในอวกาศโดยเฉพาะอนุภาคที่มีประจุ เช่น โปรตอน อิเล็กตรอน ฯลฯ ซึ่งเดิมมีความหนาแน่นต่ำมีความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น เมื่ออนุภาคเหล่านี้ผ่านเข้าสู่บรรยากาศของโลก จะส่งผลกระทบต่อโลกและกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์
ตัวอย่างของผลกระทบที่เกิดจากสภาพอากาศในอวกาศ
          – แสงเหนือ (Aurora Borealis)
          – การหยุดชะงักในการสื่อสารโทรคมนาคม
          – สัญญาณ GPS หาย
          – ไฟกระชากในเครือข่ายการจ่ายไฟฟ้า
          – นักบินอวกาศได้รับอันตรายจากรังสี
          – ความเสียหายต่อยานอวกาศ
 
          โดยการแข่งขัน International Space Challenge ในปีนี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 
          1. Starter (อายุ 13-18 ปี)

          ภารกิจออกแบบดาวเทียมเพื่อเก็บข้อมูลจากแถบรังสีแวนอัลเลน (Van Allen Belts)

          2. Open (อายุ 15-25 ปี)
          ภารกิจออกแบบการทดลองสภาพอากาศในอวกาศบนสถานีอวกาศนานาชาติ
 
          โปรโมชันพิเศษ! ส่วนลดค่าสมัคร 50% เมื่อใช้ discount code: KIBO50 ในขั้นตอนการกรอกใบสมัครออนไลน์
หมดเขตการรับสมัคร วันที่ 6 สิงหาคม 2564
 
          สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม และสมัครออนไลน์ได้ทางเว็บไซต์การแข่งขัน  https://www.space.org.sg/isc/
 
          ดำเนินการโดย Singapore Space & Technology Ltd
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

Related

Tags: International Space Challenge Space Weather

Continue Reading

Previous: ศูนย์อวกาศเวียดนาม VNSC ความก้าวหน้างานวิจัยด้านเทคโนโลยีอวกาศที่น่าจับตามอง
Next: ถึงเวลาอาเซียน แข่งขันด้านอวกาศ

Related Stories

ทีมกาแล็กติก 4 คว้าอันดับ 3 รอบชิงแชมป์นานาชาติ โครงการ Kibo-RPC ครั้งที่ 4
  • News & Articles

ทีมกาแล็กติก 4 คว้าอันดับ 3 รอบชิงแชมป์นานาชาติ โครงการ Kibo-RPC ครั้งที่ 4

30/10/2023
ทีมกาแล็กติก 4 คว้ารางวัลชนะเลิศ ‘Kibo Robot Programming Challenge 2023’ เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันชิงแชมป์ระดับนานาชาติ
  • Kibo-RPC
  • News & Articles

ทีมกาแล็กติก 4 คว้ารางวัลชนะเลิศ ‘Kibo Robot Programming Challenge 2023’ เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันชิงแชมป์ระดับนานาชาติ

13/07/2023
กิจกรรม International Space Challenge 2024
  • News & Articles

กิจกรรม International Space Challenge 2024

09/05/2023

You may have missed

ทีมกาแล็กติก 4 คว้าอันดับ 3 รอบชิงแชมป์นานาชาติ โครงการ Kibo-RPC ครั้งที่ 4
  • News & Articles

ทีมกาแล็กติก 4 คว้าอันดับ 3 รอบชิงแชมป์นานาชาติ โครงการ Kibo-RPC ครั้งที่ 4

30/10/2023
ทีมกาแล็กติก 4 คว้ารางวัลชนะเลิศ ‘Kibo Robot Programming Challenge 2023’ เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันชิงแชมป์ระดับนานาชาติ
  • Kibo-RPC
  • News & Articles

ทีมกาแล็กติก 4 คว้ารางวัลชนะเลิศ ‘Kibo Robot Programming Challenge 2023’ เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันชิงแชมป์ระดับนานาชาติ

13/07/2023
ผลคะแนน The 4th Kibo-Robot Programming Challenge รอบชิงแชมป์ประเทศไทย
  • Kibo-RPC

ผลคะแนน The 4th Kibo-Robot Programming Challenge รอบชิงแชมป์ประเทศไทย

12/07/2023
กิจกรรม International Space Challenge 2024
  • News & Articles

กิจกรรม International Space Challenge 2024

09/05/2023
NSTDA SPACE Education Copyright © All rights reserved. | DarkNews by AF themes.