IoT – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Wed, 16 Jun 2021 08:42:48 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 ../../wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png IoT – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na25-softwate-testing/ Tue, 16 Mar 2021 13:43:44 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14905 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ระบบซอฟต์แวร์ บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ รองรับการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ที่เป็น Application ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น  Mobile Application,  Web-Application,   Embedded System  หรือรูปแบบอื่น ซึ่งสามารถทดสอบได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างการผลิตหรือผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว  โดยสามารถทดสอบตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้ *** ราคาและระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ  ของ Application/ระบบ เช่น จำนวนฟังก์ชัน ระดับความซับซ้อน จำนวนส่วนประกอบ เครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ในการทดสอบ หรือสภาพแวดล้อมการทดสอบ เป็นต้น Internet of Things (IoT) Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนำไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย (ที่มา) การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitability) เป็นการทดสอบฟังก์ชันการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน […]

The post บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ appeared first on NAC2021.

]]>

บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์

บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) 

ระบบซอฟต์แวร์

        บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ รองรับการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ที่เป็น Application ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น  Mobile Application,  Web-Application,   Embedded System  หรือรูปแบบอื่น ซึ่งสามารถทดสอบได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างการผลิตหรือผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว  โดยสามารถทดสอบตามคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้

        *** ราคาและระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ  ของ Application/ระบบ เช่น จำนวนฟังก์ชัน ระดับความซับซ้อน จำนวนส่วนประกอบ เครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ในการทดสอบ หรือสภาพแวดล้อมการทดสอบ เป็นต้น

Internet of Things (IoT)
        Internet of Things หรือ IoT คือ สภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยสรรพสิ่งที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดยสรรพสิ่งต่างๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบทของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบและทำงานร่วมกันได้ ความสามารถในการสื่อสารของสรรพสิ่งนี้จะนำไปสู่นวัตกรรมและบริการใหม่อีกมากมาย (ที่มา)

การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitability)
        เป็นการทดสอบฟังก์ชันการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าสามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ตรงตามที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ รูปแบบการทดสอบเช่นเดียวกับการทดสอบ ระบบซอฟต์แวร์

ประสิทธิภาพ (Performance)
        เป็นการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงเว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าระบบมีการตอบสนองและสามารถรองรับจำนวนผู้ใช้งานได้ตามที่ระบุไว้ในเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์

ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (CyberSecurity)
      เป็นการทดสอบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของอุปกรณ์ IoT  รวมไปถึงโมบายแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน และ API ที่เกี่ยวข้องว่าระบบมีความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ตามคำแนะนำของ OWASP

ระบบเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์

รายละเอียดการทดสอบ
       ให้บริการทดสอบ ระบบเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ตามมาตรฐาน ดังนี้

  • การทดสอบระบบจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ มาตรฐาน มศอ 4003.1 -2560
  • การทดสอบประสิทธิภาพการทำงาน บริภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ศอ. 2006.3 – 2558

เครื่องมือแพทย์และซอฟต์แวร์เครื่องมือแพทย์

รายละเอียดการทดสอบ
        ให้บริการทดสอบเครื่องมือแพทย์ และซอฟต์แวร์เครื่องมือแพทย์ตามมาตรฐาน ดังนี้

ติดต่อสอบถาม

The post บริการทดสอบระบบซอฟต์แวร์ appeared first on NAC2021.

]]>
การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/02/26/ss54-future-modern-transports/ Fri, 26 Feb 2021 12:48:35 +0000 http://10.228.25.4:10075/nac/2021/?p=6025 การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรม ยานยนต์แห่งอนาคต การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต Research and Testing System of Future Modern Transports        Connected & Autonomous Vehicle (CAV) เป็นการใช้เทคโนโลยี  Internet of Things (IoT) มาประยุกต์ใช้กับยานยนต์เพื่อทำให้ยานยนต์เป็น Connected Vehicles ซึ่งสามารถสื่อสารกับสิ่งต่าง ๆ ได้ เช่น 1) การสื่อสารกับข้อมูลจากเซนเซอร์ของยานยนต์เพื่อใช้ตรวจจับสิ่งที่อยู่รอบ ๆ และนําข้อมูลมาประมวลผลเพื่อการขับขี่ ซึ่งจะนำไปสู่ยานยนต์ไร้คนขับ (Automated Vehicles)  2) การสื่อสารกับสิ่งต่างๆ รอบตัว (Vehicle-to-Everything: V2X) เช่น รถยนต์คันอื่น สิ่งกีดขวาง สัญญาณไฟจราจร เป็นต้น 3) การเชื่อมต่อกับบริการเกี่ยวกับการขับขี่ (Telematics) เช่น บริการนําทาง บริการตรวจเช็ครถยนต์จากระยะไกล เป็นต้น […]

The post การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต appeared first on NAC2021.

]]>

การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรม

ยานยนต์แห่งอนาคต

การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต

Research and Testing System of Future Modern Transports

       Connected & Autonomous Vehicle (CAV) เป็นการใช้เทคโนโลยี  Internet of Things (IoT) มาประยุกต์ใช้กับยานยนต์เพื่อทำให้ยานยนต์เป็น Connected Vehicles ซึ่งสามารถสื่อสารกับสิ่งต่าง ๆ ได้ เช่น 1) การสื่อสารกับข้อมูลจากเซนเซอร์ของยานยนต์เพื่อใช้ตรวจจับสิ่งที่อยู่รอบ ๆ และนําข้อมูลมาประมวลผลเพื่อการขับขี่ ซึ่งจะนำไปสู่ยานยนต์ไร้คนขับ (Automated Vehicles)  2) การสื่อสารกับสิ่งต่างๆ รอบตัว (Vehicle-to-Everything: V2X) เช่น รถยนต์คันอื่น สิ่งกีดขวาง สัญญาณไฟจราจร เป็นต้น 3) การเชื่อมต่อกับบริการเกี่ยวกับการขับขี่ (Telematics) เช่น บริการนําทาง บริการตรวจเช็ครถยนต์จากระยะไกล เป็นต้น และ 4) การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงของผู้โดยสาร (Infotainment) 

        ปัจจุบันรถยนต์ไร้คนขับได้อยู่ใน Level 3-4 อย่างเต็มรูปแบบในรถยนต์สมัยใหม่บางรุ่น ซึ่งเทคโนโลยีการขับขี่อัตโนมัติจะเข้ามาช่วยแก้ปัญหาการจราจรและลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในประเทศไทยได้

        การบรรยายและการเสวนาในครั้งนี้จะนำเสนอเทคโนโลยีการขับขี่อัตโนมัติมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ทั้งในส่วนของงานวิจัยและพัฒนา การทดสอบโดยผู้เชี่ยวชาญทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และวิทยากรจากต่างประเทศ เพื่อขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนา การทดสอบเทคโนโลยีการขับขี่อัตโนมัติ ซึ่งเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต ซึ่งจะมาช่วยสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทยในรูปแบบของอุตสาหกรรมใหม่อีกด้วย

วิดีโอบันทึกการสัมมนา

กำหนดการ

 

วันที่ 30 มีนาคม 2564

 

13.00-14.30 น.

เสวนาเรื่อง การสร้าง eco system ของ Connected and Autonomous Vehicles (CAV)

โดย
1)
คุณเริงศักดิ์ ทองสม
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)


2) คุณพนัส วัฒนชัย
บริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด

3) 
คุณฐิติภัทร ดอกไม้เทศ
สถาบันยานยนต์

4) คุณธนัญ จารุวิทยโกวิท
บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (
AIS)

5) คุณธวัชชัย ฤกษ์สำราญ
บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น (
TRUE)

6) คุณไพรัชฏ์ ไตรเวทย์
บริษัท บางกอกกล๊าส จำกัด (มหาชน)

ดำเนินรายการโดย
ดร. จาตุวัฒน์ ราชเรืองระบิน
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีระบบรางและการขนส่งสมัยใหม่ สวทช.

 

14.30-14.40 น.

พัก

14.40-15.10 น.

Hands-on Experience of Autonomous driving Development and Operation

by Mr. David Chen
Turing Drive Inc.

15.10-15.40 น.

Proving ground for Connected and Autonomous Vehicles (CAV)

by Dr. Lung-Yao Chang
Deputy Director, Taiwan CAR Lab, NARLabs

15.40-16.10 น.

Open road for Connected and Autonomous Vehicles (CAV)

by Mr. Younggi Song
CEO & Founder – SpringCloud Inc.

เกี่ยวกับวิทยากร:

The post การวิจัยและการทดสอบของอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต appeared first on NAC2021.

]]>