Elisa – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Tue, 23 Mar 2021 09:07:11 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 ../../wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png Elisa – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na33-elisa-cassava/ Tue, 16 Mar 2021 03:37:56 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14534 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) โรคใบด่างมันสำปะหลัง ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้ เทคนิค Elisa คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด […]

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

โรคใบด่างมันสำปะหลัง

        ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้

เทคนิค Elisa

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก
  • ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด ก่นเขียว และ ใบอ่อนจากตาข้าง
  • มีความไวสูงกว่าและราคาถูกกว่าชุดตรวจที่นำเข้า

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลัง

สถานภาพของผลงาน

        คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001000526 ยื่นคำขอวันที่ 29 มกราคม 2563

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการเกษตร

นักวิจัย

        นักวิจัยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • แสงสูรย์ เจริญวิไลศิริ
  • ชาญณรงค์ ศรีภิบาล
  • สมบัติ รักประทานพร
  • มัลลิกา กำภูศิริ
  • นุชนาถ วารินทร์
  • เบญจรงค์ พวงรัตน์
  • ผกามาศ ชิดเชื้อ
  • สิริมา ศิริไพฑูรย์
  • อรประไพ คชนันทน์

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>