TLO – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 16th NSTDA Annual Conference Thu, 25 Mar 2021 17:30:17 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.1.1 http://10.228.26.24:31824/nac/2021/wp-content/uploads/2021/02/cropped-nac-web-logo-01-32x32.png TLO – NAC2021 http://10.228.26.24:31824/nac/2021 32 32 อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na03-acne-care/ Tue, 16 Mar 2021 09:24:02 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14787 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ที่มาและความสำคัญ แนวโน้มการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสมุนไพรในปัจจุบันนั้นได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยพบว่าสารสมุนไพรทั้งในรูปของสารออกฤทธิ์ที่เป็นสารสกัดหยาบ ผงแห้ง และน้ำมันหอมระเหยเข้มข้นมีการนำมาใช้เป็นยา อาหารเสริม หรือส่วนผสมในอาหารเพื่อจุดประสงค์ในการบำบัดและรักษาโรคต่าง ๆ อย่างไรก็ดี สารสกัดจากสมุนไพรมีข้อจำกัดทั้งด้านกายภาพและทางเคมีที่อาจส่งผลต่อการนำมาใช้ในการพัฒนาเป็นสูตรตำรับยา รวมถึงการนำมาใช้ในการบำบัดรักษาด้วย ดังนั้นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมุนไพรที่ใช้ภายนอกร่างกายจึงทีความจำเป็นต่อการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ สารสกัดบัวบก สารสกัดเปลือกมังคุด และน้ำมันกานพลู เป็นสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นทั้งทางชีวภาพและทางเภสัชศาสตร์ โดยคุณสมบัติดังกล่าว คือ การลดรอยดำ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ รวมถึงความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ในกลุ่มของ Staphylococcus aureus และ Propionibacterium acnes ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดสิว ดังนั้นการนำสรรพคุณของสารออกฤทธิ์ทั้ง 3 ชนิดมารวมกันจะทำให้เป็นการเพิ่มศักยภาพและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้ คุณสมบัติเด่นของเทคโนโลยี อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู เป็นอนุภาคนาโนที่พัฒนาเพื่อให้ได้อนุภาคที่สามารถกักเก็บสารสำคัญได้หลากหลายรูปแบบ และมีความคงตัวของอนุภาคที่ดี โดยสารสกัดจากธรรมชาติที่นำมากักเก็บในอนุภาคนี้มีคุณสมบัติเด่นในด้านการลดการเกิดสิว ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง ช่วยลดโอกาสการเกิดรอยดำ และการอักเสบที่เกิดขึ้นจากสิวอักเสบ อีกทั้งอนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู นี้สามารถนำไปขึ้นรูปเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ เหมาะสำหรับการประยุกต์ใช้ในการเตรียมสูตรเภสัชภัณฑ์ใช้ภายนอกร่างกาย เพื่อเพิ่มความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวหนังของอนุภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความร่วมมือที่เสาะหา เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ สถานภาพของผลงานวิจัย […]

The post อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง appeared first on NAC2021.

]]>

อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง

อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ที่มาและความสำคัญ

        แนวโน้มการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสมุนไพรในปัจจุบันนั้นได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยพบว่าสารสมุนไพรทั้งในรูปของสารออกฤทธิ์ที่เป็นสารสกัดหยาบ ผงแห้ง และน้ำมันหอมระเหยเข้มข้นมีการนำมาใช้เป็นยา อาหารเสริม หรือส่วนผสมในอาหารเพื่อจุดประสงค์ในการบำบัดและรักษาโรคต่าง ๆ อย่างไรก็ดี สารสกัดจากสมุนไพรมีข้อจำกัดทั้งด้านกายภาพและทางเคมีที่อาจส่งผลต่อการนำมาใช้ในการพัฒนาเป็นสูตรตำรับยา รวมถึงการนำมาใช้ในการบำบัดรักษาด้วย ดังนั้นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมุนไพรที่ใช้ภายนอกร่างกายจึงทีความจำเป็นต่อการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์

         สารสกัดบัวบก สารสกัดเปลือกมังคุด และน้ำมันกานพลู เป็นสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นทั้งทางชีวภาพและทางเภสัชศาสตร์ โดยคุณสมบัติดังกล่าว คือ การลดรอยดำ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ รวมถึงความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ในกลุ่มของ Staphylococcus aureus และ Propionibacterium acnes ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดสิว ดังนั้นการนำสรรพคุณของสารออกฤทธิ์ทั้ง 3 ชนิดมารวมกันจะทำให้เป็นการเพิ่มศักยภาพและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้

คุณสมบัติเด่นของเทคโนโลยี

        อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู เป็นอนุภาคนาโนที่พัฒนาเพื่อให้ได้อนุภาคที่สามารถกักเก็บสารสำคัญได้หลากหลายรูปแบบ และมีความคงตัวของอนุภาคที่ดี โดยสารสกัดจากธรรมชาติที่นำมากักเก็บในอนุภาคนี้มีคุณสมบัติเด่นในด้านการลดการเกิดสิว ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ผิวหนัง ช่วยลดโอกาสการเกิดรอยดำ และการอักเสบที่เกิดขึ้นจากสิวอักเสบ อีกทั้งอนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลู นี้สามารถนำไปขึ้นรูปเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบ เหมาะสำหรับการประยุกต์ใช้ในการเตรียมสูตรเภสัชภัณฑ์ใช้ภายนอกร่างกาย เพื่อเพิ่มความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวหนังของอนุภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความร่วมมือที่เสาะหา

        เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

สถานภาพของผลงานวิจัย

        – ผลการทดลองระดับห้องปฏิบัติการได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นไปได้
        – ได้ต้นแบบในระดับห้องปฏิบัติการ
        – ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
        – ได้ต้นแบบระดับ pilot scale

สถานภาพสิทธิบัตร

        อนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1803001113 เรื่อง องค์ประกอบอนุภาคนาโน-ลิโปดอล แคริเออร์ และกรรมวิธีการเตรียมอนุภาคดังกล่าว วันที่ยื่นคำขอ 11 พ.ค. 2561

นักวิจัย

        ดร.สุวิมล สุรัสโม
        ดร.ชญานันท์ เอี่ยมสำอาง
        นายคุณัช สุขธรรม
        นางสาวนารินทร์ ไพบูลย์
        นายจักรวาฬ ยศถาวรกุล
        นางสาวอรอุมา เกตุชาติ

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post อนุภาคนาโนเพื่อการนำส่งบัวบก มังคุด กานพลูสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง appeared first on NAC2021.

]]>
แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na09-digital-dentistry-platform/ Tue, 16 Mar 2021 09:05:22 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14764 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)        แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) เป็นการบูรณาการนวัตกรรมทางด้านท้นตกรรมที่พัฒนา ในประเทศแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่การนำเทคโนโลยีเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางทันตกรรม (DentiiScan) การวางแผนการฝังรากฟันเทียมด้วยซอฟต์แวร์ (DentiPlan) เพื่อใช้ในการผลิตอุปกรณ์นำเจาะเพื่อฝังรากฟันเทียม (Surgical Drill Guide) ร่วมกับการใช้ระบบรากฟันเทียมไทย (Dental Implant) ตลอดจนการออกแบบและผลิตครอบฟันสะพานฟันด้วยเทคโนโลยีการออกแบบและควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ (Dental CAD/CAM/CNC/3D Printer) ทำให้ผู้ป่วยคนไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและฟันได้ง่ายขึ้น และสามารถรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยได้อย่างต่อเนื่อง ภาพแพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม แสดงกระบวนการรักษาโดยการเก็บข้อมูล ออกแบบและผลิต ผลงาน : เครื่องเดนตีสแกน DentiiScan        เดนตีสแกน 2.0 (DentiiScan 2.0) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับงานทันตกรรม คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 มิติ แบบลำรังสีทรงกรวยสำหรับงานทันตกรรมและศัลยกรรมบริเวณช่องปากและใบหน้า ช่วยทำให้การวินิจฉัยโรคและวางแผนการผ่าตัดมีความแม่นยำ แผลมีขนาดเล็กและมีความปลอดภัยมากขึ้น สามารถใช้ในการวินิจฉัยโรค และวางแผนการรักษาในงานทันตกรรมรากฟันเทียม การผ่าฟันคุด […]

The post แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) appeared first on NAC2021.

]]>

แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform)

แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

       แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) เป็นการบูรณาการนวัตกรรมทางด้านท้นตกรรมที่พัฒนา ในประเทศแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่การนำเทคโนโลยีเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางทันตกรรม (DentiiScan) การวางแผนการฝังรากฟันเทียมด้วยซอฟต์แวร์ (DentiPlan) เพื่อใช้ในการผลิตอุปกรณ์นำเจาะเพื่อฝังรากฟันเทียม (Surgical Drill Guide) ร่วมกับการใช้ระบบรากฟันเทียมไทย (Dental Implant) ตลอดจนการออกแบบและผลิตครอบฟันสะพานฟันด้วยเทคโนโลยีการออกแบบและควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ (Dental CAD/CAM/CNC/3D Printer) ทำให้ผู้ป่วยคนไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลทางทันตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและฟันได้ง่ายขึ้น และสามารถรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทยได้อย่างต่อเนื่อง

ภาพแพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม แสดงกระบวนการรักษาโดยการเก็บข้อมูล ออกแบบและผลิต

ผลงาน : เครื่องเดนตีสแกน DentiiScan

       เดนตีสแกน 2.0 (DentiiScan 2.0) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับงานทันตกรรม คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 มิติ แบบลำรังสีทรงกรวยสำหรับงานทันตกรรมและศัลยกรรมบริเวณช่องปากและใบหน้า ช่วยทำให้การวินิจฉัยโรคและวางแผนการผ่าตัดมีความแม่นยำ แผลมีขนาดเล็กและมีความปลอดภัยมากขึ้น สามารถใช้ในการวินิจฉัยโรค และวางแผนการรักษาในงานทันตกรรมรากฟันเทียม การผ่าฟันคุด และการผ่าตัดบริเวณช่องปาก ขากรรไกร และใบหน้า รวมทั้งการตรวจดูความผิดปกติของไซนัส ผู้ป่วยที่ถูกถ่ายด้วยเครื่องเดนตีสแกนจะได้รับปริมาณรังสีที่ต่ำกว่าเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ทั่วไป

     ณ เดือนธันวาคม 2561 มีเครื่องเดนตีสแกนทั้งรุ่น 1.1 และ 2.0 เปิดให้บริการแก่ประชาชนแล้ว รวมทั้งหมด 20 เครื่อง มีการใช้งานมากกว่า 5,000 ครั้ง และในปี พ.ศ. 2563 ได้มีเครื่องเดนตีสแกนให้บริการรวมทั้งสิ้น 60 เครื่องทั่วประเทศ เครื่องเดนตีสแกนผ่านการตรวจสอบความปลอดภัยด้านต่างๆ และได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 13485 นอกจากนี้ยังได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้กับบริษัทเอกชน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ทรัพย์สินทางปัญญา

  • สิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่คำขอ 1201004688 
  • ลิขสิทธิ์เลขที่ 375450, 374098, 374096, 374102, 374099, 374100, 340768 
  • เครื่องหมายการค้าเลขที่ 857894, 940809, 684300

RadiiView-DentiiCloud

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • Login with security awareness (2 options): Use OTP, Single sign-on
  • RadiiView (viewer) แสดงผลภาพ 3 มิติผ่านระบบคลาวด์
  • ทดแทนการเขียนไฟล์ภาพใส่แผ่นซีดี
  • สามารถดูภาพได้ทุกที่ทุกเวลา
  • สามารถใช้ปรึกษาระหว่างทันตแพทย์/แพทย์แบบออนไลน์ (Teleconsult)

วิจัยและพัฒนาโดย
      ดร. เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, ดร. วลิตะ นาคบัวแก้ว ดร. ณัฐนันท์ ทัดพิทักษ์กุล และคณะ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

ผลิตภัณฑ์ทางทันตกรรม : M-Bone แคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกส์สังเคราะห์ชนิดมีรูพรุนต่อเนื่องสำหรับใช้เป็นวัสดุทดแทนกระดูกมนุษย์

       M-Bone เป็นต้นแบบวัสดุสังเคราะห์ที่มีความปลอดภัยเนื่องจากได้ผ่านการทดสอบความปลอดภัยทางชีวภาพตามมาตรฐาน ISO 10993 โดยห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และดำเนินการผลิตโดยโรงงานต้นแบบที่ได้มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 13485 โดยมีขอบข่ายครอบคลุมกระบวนการวิจัยและพัฒนาและการผลิตต้นแบบ นอกจากนี้ยังได้รับการขึ้นทะเบียนสถานที่ผลิตเครื่องมือแพทย์ จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข และอยู่ระหว่างดำเนินการขออนุญาตผลิตเพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ขณะเดียวกันก็ได้รับอนุญาตให้เผยแพร่คำโฆษณาเพื่อให้สามารถโฆษณาต่อผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของสินค้าอีกด้วย

วิจัยและพัฒนาโดย
   ดร. นฤภร มนต์มธุรพจน์  ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

ติดต่อสอบถาม

กุลภัทร์ เฉลิมงาม
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post แพลตฟอร์มดิจิทัลทางทันตกรรม (Digital Dentistry Platform) appeared first on NAC2021.

]]>
VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพาเพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na38-vip-safe-plus/ Tue, 16 Mar 2021 07:58:24 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14732 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ VIP-Safe Plus หรือ ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร โดยผสาน 3 เทคโนโลยีที่ทันสมัยจาก ไบโอเทค เนคเทค และมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็กและงานภาคสนาม ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถนำไปใช้วิเคราะห์จุดเสี่ยงในกระบวนการผลิตอาหารร่วมกับระบบประเมินคุณภาพอื่นๆ เช่น HACCP หรือ GMP เพื่อช่วยลดการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคในอาหารได้ คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ใช้เวลาตรวจเพียง 1 ชม. ด้วยเทคนิคแลมป์ที่มีความไวและความจำเพาะสูง ใช้สารทดสอบปริมาณน้อย ด้วยขั้วไฟฟ้ากราฟีนแบบพิมพ์ได้ อุปกรณ์มีขนาดเล็ก พกพาง่าย ใช้สะดวก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม เครื่องอ่านผล สามารถตรวจเชื้อก่อโรคได้ถึง 3 ชนิด ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ราคาถูก ใช้งานง่าย ได้ผลแม่นยำ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารแบบขนาดพกพา สถานภาพของผลงาน คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1703001682 ยื่นคำขอวันที่ 1 กันยายน […]

The post VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา<br>เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร appeared first on NAC2021.

]]>

VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา
เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา
เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

        VIP-Safe Plus หรือ ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร โดยผสาน 3 เทคโนโลยีที่ทันสมัยจาก ไบโอเทค เนคเทค และมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็กและงานภาคสนาม ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สามารถนำไปใช้วิเคราะห์จุดเสี่ยงในกระบวนการผลิตอาหารร่วมกับระบบประเมินคุณภาพอื่นๆ เช่น HACCP หรือ GMP เพื่อช่วยลดการปนเปื้อนของแบคทีเรียก่อโรคในอาหารได้

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ใช้เวลาตรวจเพียง 1 ชม. ด้วยเทคนิคแลมป์ที่มีความไวและความจำเพาะสูง
  • ใช้สารทดสอบปริมาณน้อย ด้วยขั้วไฟฟ้ากราฟีนแบบพิมพ์ได้
  • อุปกรณ์มีขนาดเล็ก พกพาง่าย ใช้สะดวก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม
  • เครื่องอ่านผล สามารถตรวจเชื้อก่อโรคได้ถึง 3 ชนิด
  • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ราคาถูก ใช้งานง่าย ได้ผลแม่นยำ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหารแบบขนาดพกพา

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1703001682 ยื่นคำขอวันที่ 1 กันยายน 2560

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่าย
  • ห้องปฏิบัติการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร

ชุดตรวจเชื้อก่อโรคในอาหาร VIP Safe PLUS+++

นักวิจัย สวทช. พัฒนาชุดตรวจเชื้อก่อโรคในอาหาร VIP Safe PLUS+++ ที่มีความจำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดโรคในกลุ่มของอาหารเป็นพิษ 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อวิบริโอ คลอเรลี่, วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส และ อีโคไล สายพันธุ์โอวันไฟว์เซเว่น โดยได้มีการนำ เทคนิคแลมป์ เทคโนโลยีการผลิตขั้วไฟฟ้ากราฟีนด้วยการพิมพ์สกรีน และเทคโนโลยีตรวจวัดด้วยเซ็นเซอร์เคมีไฟฟ้า มาพัฒนาเป็นชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็ว ขนาดพกพา จุดเด่นคือใช้เวลาไม่นานในการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร เครื่องมือมีขนาดเล็กพกพาง่าย ใช้สะดวก ราคาถูก เหมาะกับการใช้งานภาคสนาม ในห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก หรือนำไปใช้ร่วมกับระบบประกันคุณภาพของอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อควบคุมคุณภาพและสร้างความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ผลงานวิจัยนี้ได้รับรางวัลแพลตินั่ม ซึ่งเป็นรางวัลสูงสุด ในการประกวดสิ่งประดิษฐ์นานาชาติที่ประเทศไต้หวัน ปี 2560

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post VIP-Safe Plus ชุดตรวจแลมป์เคมีไฟฟ้าแบบรวดเร็วขนาดพกพา<br>เพื่อการตรวจหาเชื้อก่อโรคในอาหาร appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na37-shrimp-ems-lamp-nano-gold/ Tue, 16 Mar 2021 07:39:40 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14726 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ โรคกุ้งตายด่วน (EMS) โรคที่น่ากลัวที่สุดของคนเลี้ยงกุ้ง คงหนีไม่พ้น โรคกุ้งตายด่วน ที่มาไวไปไวสมชื่อ EMS กว่าจะรู้ตัว กุ้งก็ตายเกือบหมดบ่อแล้ว แต่จากนี้ไม่ต้องกลัวอีกต่อไป ด้วยชุดตรวจ Amp-Gold ที่ใช้เทคนิคแลมป์ร่วมกับการตรวจจับ DNA โดยมีความไวในการตรวจที่ 100 CFU แถมยังใช้งานง่าย ดูสีได้ด้วยตาเปล่า ราคาถูก และไม่ต้องใช้เครื่อง PCR หรือเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่มีราคาแพง ช่วยให้เกษตรกรตรวจเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคได้เองตลอดเวลา ลดปัญหากุ้งตายด่วนได้ทันท่วงที คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ทราบผลตรวจภายใน 1 ชั่วโมงเร็วกว่าเทคนิค PCR 100 เท่า อ่านผลง่าย ด้วยตาเปล่า ถ้ากุ้งติดเชื้อ จะเห็นเป็นสีแดง ใช้ง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สามารถใช้ตรวจสอบกุ้งได้ทุกระยะการเลี้ยง สามารถใช้สำหรับกุ้งที่เลี้ยงในน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม สถานภาพของผลงาน คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่ 1603000321 […]

The post ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold

ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

โรคกุ้งตายด่วน (EMS)

       โรคที่น่ากลัวที่สุดของคนเลี้ยงกุ้ง คงหนีไม่พ้น โรคกุ้งตายด่วน ที่มาไวไปไวสมชื่อ EMS กว่าจะรู้ตัว กุ้งก็ตายเกือบหมดบ่อแล้ว แต่จากนี้ไม่ต้องกลัวอีกต่อไป ด้วยชุดตรวจ Amp-Gold ที่ใช้เทคนิคแลมป์ร่วมกับการตรวจจับ DNA โดยมีความไวในการตรวจที่ 100 CFU แถมยังใช้งานง่าย ดูสีได้ด้วยตาเปล่า ราคาถูก และไม่ต้องใช้เครื่อง PCR หรือเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่มีราคาแพง ช่วยให้เกษตรกรตรวจเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคได้เองตลอดเวลา ลดปัญหากุ้งตายด่วนได้ทันท่วงที

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ทราบผลตรวจภายใน 1 ชั่วโมงเร็วกว่าเทคนิค PCR 100 เท่า
  • อ่านผลง่าย ด้วยตาเปล่า ถ้ากุ้งติดเชื้อ จะเห็นเป็นสีแดง
  • ใช้ง่าย ราคาถูก ประสิทธิภาพสูง

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • สามารถใช้ตรวจสอบกุ้งได้ทุกระยะการเลี้ยง
  • สามารถใช้สำหรับกุ้งที่เลี้ยงในน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่ 1603000321 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย V. parahaemolyticus ก่อโรคตับตายเฉียบพลันในกุ้ง ยื่นคำขอวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ด้วยเทคนิค LAMP Nano gold appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na36-blueamp/ Tue, 16 Mar 2021 07:28:26 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14692 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) blueAMP เป็นชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในปลานิลและปลาทับทิม ด้วยเทคนิคแลมป์เปลี่ยนสี มีราคาถูก ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก อ่านผลตรวจได้ทันทีด้วยตัวเอง ไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ทำให้สามารถจัดการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว และชุดตรวจนี้ยังประยุกต์ใช้กับการตรวจโรคในปลาเศรษฐกิจของภูมิภาคอื่นได้ด้วย เช่น ปลาสวาย ปลาดุกบิ๊กอุย ปลาเทราต์ และปลาสวยงาม คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ใช้งานง่าย อ่านผลได้ทันทีด้วยตาเปล่า รวดเร็ว รู้ผลภายในเวลา 1 ชั่วโมง ต้นทุนการผลิตและการทดสอบต่ำ ถูกกว่าวิธีเดิม 5-8 เท่า การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สามารถใช้ในงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการได้ สามารถประยุกต์ใช้กับปลาชนิดอื่นได้ สถานภาพของผลงาน อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11956 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ก่อโรคในปลา อนุสิทธิบัตรเลขที่ 12062 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus iniae ก่อโรคในปลา กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ ติดต่อสอบถาม […]

The post ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม <br>แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม
แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP)

ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม
แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP)

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

        blueAMP เป็นชุดตรวจหาเชื้อก่อโรคในปลานิลและปลาทับทิม ด้วยเทคนิคแลมป์เปลี่ยนสี มีราคาถูก ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก อ่านผลตรวจได้ทันทีด้วยตัวเอง ไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ทำให้สามารถจัดการป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว และชุดตรวจนี้ยังประยุกต์ใช้กับการตรวจโรคในปลาเศรษฐกิจของภูมิภาคอื่นได้ด้วย เช่น ปลาสวาย ปลาดุกบิ๊กอุย ปลาเทราต์ และปลาสวยงาม

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ใช้งานง่าย อ่านผลได้ทันทีด้วยตาเปล่า
  • รวดเร็ว รู้ผลภายในเวลา 1 ชั่วโมง
  • ต้นทุนการผลิตและการทดสอบต่ำ ถูกกว่าวิธีเดิม 5-8 เท่า

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • สามารถใช้ในงานภาคสนามและห้องปฏิบัติการได้
  • สามารถประยุกต์ใช้กับปลาชนิดอื่นได้

สถานภาพของผลงาน

  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 11956 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ก่อโรคในปลา
  • อนุสิทธิบัตรเลขที่ 12062 เรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus iniae ก่อโรคในปลา

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชุดตรวจโรคสัตว์น้ำ

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซิสในปลานิลและปลาทับทิม <br>แบบง่าย รวดเร็ว และแม่นยำ (blueAMP) appeared first on NAC2021.

]]>
Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง3 ชนิดในคราวเดียวกัน http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na34-cucurbits-easy-kit/ Tue, 16 Mar 2021 07:10:23 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14655 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip) ที่มาและความสำคัญ การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ […]

The post Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง<br>3 ชนิดในคราวเดียวกัน appeared first on NAC2021.

]]>

Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง
3 ชนิดในคราวเดียวกัน

Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง
3 ชนิดในคราวเดียวกัน

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

       การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip)

ที่มาและความสำคัญ

        การตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคพืชที่มีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำ สะดวก รวดเร็ว ราคาถูกและสามารถตรวจโรคหลายๆ ชนิดได้ในคราวเดียวกัน นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาระบาดวิทยาของโรคในแปลงปลูก เพื่อหาวิธีการจัดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ immunochromatographic strip test เพื่อใช้สำหรับตรวจเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 ชนิด ได้แก่ เชื้อไวรัสในกลุ่มโพทีไวรัส (Potyvirus) เชื้อวอเทอร์เมลอน โมเซอิค ไวรัส-ทู (Watermelon mosaic virus-2, WMV-2) และเชื้อแบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac) ได้พร้อมกันใน 1 แถบตรวจ (strip)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตร เลขที่ 10414 เรื่อง แผ่นแถบสำเร็จรูปสำหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง 3 เชื้อได้พร้อมกันในคราวเดียว

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการเกษตร
  • เกษตรกร

นักวิจัย

        ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

  • นายสมบัติ รักประทานพร
  • นางสาวมัลลิกา กำภูศิริ
  • นางสาวอรวรรณ หิมานันโต
  • นางสาวอรประไพ คชนันทน์

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post Cucurbits-3 in 1 Easy kit ชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในพืชตระกูลแตง<br>3 ชนิดในคราวเดียวกัน appeared first on NAC2021.

]]>
VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na35-biocontrol-vippro/ Tue, 16 Mar 2021 04:21:30 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14589 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.บุญเฮียง พรมดอนกอย และคณะ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) นักวิจัยพบว่าโปรตีน Vip3A ที่พบได้ในแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) มีฤทธิ์ฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของประเทศไทย มักพบการแพร่ระบาดสร้างความเสียหายแก่พืชผักในวงกว้าง ทีมวิจัยจึงนำโปรตีน Vip3A มาพัฒนาเป็น VipPro หรือชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช โดยคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดแมลงให้สูงขึ้น ใช้งานง่ายเพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น ออกฤทธิ์เร็ว ลดความสูญเสียและร่องรอยตำหนิบนใบพืช ปลอดภัยทั้งผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ได้กับแมลงศัตรูพืชที่ดื้อต่อสารเคมีแล้ว คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ศัตรูพืชหยุดกินอาหารภายใน 1 ชม. ลดความเสียหายของพืชได้มาก มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อต่อผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีของเสียในกระบวนการผลิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ใช้งานง่าย เพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น หรือผสมกับการให้ปุ๋ยทางใบ VipPro ออกฤทธิ์เสริมกับชีวภัณฑ์อื่นได้ดี เช่น ไวรัสเอนพีวี ราบิวเวอเรีย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช สถานภาพของผลงาน อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12300 […]

The post VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย <i>Bacillus thuringiensis</i> appeared first on NAC2021.

]]>

VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.บุญเฮียง พรมดอนกอย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

        นักวิจัยพบว่าโปรตีน Vip3A ที่พบได้ในแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) มีฤทธิ์ฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของประเทศไทย มักพบการแพร่ระบาดสร้างความเสียหายแก่พืชผักในวงกว้าง ทีมวิจัยจึงนำโปรตีน Vip3A มาพัฒนาเป็น VipPro หรือชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช โดยคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดแมลงให้สูงขึ้น ใช้งานง่ายเพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น ออกฤทธิ์เร็ว ลดความสูญเสียและร่องรอยตำหนิบนใบพืช ปลอดภัยทั้งผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ได้กับแมลงศัตรูพืชที่ดื้อต่อสารเคมีแล้ว

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ศัตรูพืชหยุดกินอาหารภายใน 1 ชม. ลดความเสียหายของพืชได้มาก
  • มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อต่อผู้ใช้และผู้บริโภค
  • ไม่มีของเสียในกระบวนการผลิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน
  • ใช้งานง่าย เพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น หรือผสมกับการให้ปุ๋ยทางใบ
  • VipPro ออกฤทธิ์เสริมกับชีวภัณฑ์อื่นได้ดี เช่น ไวรัสเอนพีวี ราบิวเวอเรีย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12300 เรื่อง กระบวนเพาะเลี้ยงเชื้อบีที เพื่อผลิตโปรตีน Vip3A ในระดับห้องปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
  • เกษตรกร

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย <i>Bacillus thuringiensis</i> appeared first on NAC2021.

]]>
ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/16/na33-elisa-cassava/ Tue, 16 Mar 2021 03:37:56 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14534 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) โรคใบด่างมันสำปะหลัง ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้ เทคนิค Elisa คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด […]

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)

โรคใบด่างมันสำปะหลัง

        ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังเป็นโรคสำคัญที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกตั้งแต่ร้อยละ 80-100 พบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอัฟริกา ในทวีปเอเชียมีรายงานครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2499 ที่ประเทศอินเดีย และประเทศศรีลังกา ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังแพร่กระจายสู่เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา และต่อมาในปีพ.ศ. 2559 ที่จังหวัดเตียนิญ ประเทศเวียดนาม ประเทศ ไทยพบรายงานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 ในพื้นที่ติดชายแดนกัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และต่อมาพบเพิ่มเติมในพื้นที่ จังหวัดปราจีนบุรี บุรีรัมย์ อุบลราชธานี สุรินทร์ สระแก้ว และนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562 พบการระบาดของโรคใบด่าง มันสำปะหลังในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่กระจายมากขึ้น ดังนั้นการตรวจกรองไวรัสในท่อนพันธุ์จะช่วยลดความเสี่ยงของเกษตรกรในการนำท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูกต่อ และชะลอการแพร่กระจายของไวรัสลงได้

เทคนิค Elisa

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • ถูกต้อง แม่นยำ สามารถตรวจตัวอย่างได้คราวละจำนวนมาก
  • ตรวจเชื้อไวรัสได้จาก ใบยอด ก่นเขียว และ ใบอ่อนจากตาข้าง
  • มีความไวสูงกว่าและราคาถูกกว่าชุดตรวจที่นำเข้า

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลัง

สถานภาพของผลงาน

        คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001000526 ยื่นคำขอวันที่ 29 มกราคม 2563

กลุ่มเป้าหมาย

        ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการเกษตร

นักวิจัย

        นักวิจัยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  • แสงสูรย์ เจริญวิไลศิริ
  • ชาญณรงค์ ศรีภิบาล
  • สมบัติ รักประทานพร
  • มัลลิกา กำภูศิริ
  • นุชนาถ วารินทร์
  • เบญจรงค์ พวงรัตน์
  • ผกามาศ ชิดเชื้อ
  • สิริมา ศิริไพฑูรย์
  • อรประไพ คชนันทน์

ติดต่อสอบถาม

รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ชุดตรวจวินิจฉัยโรคใบด่างมันสำปะหลังด้วยเทคนิคอิไลซ่า appeared first on NAC2021.

]]>
เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/15/na08-health-check-kiosk/ Mon, 15 Mar 2021 07:06:37 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14322 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.ชูศักดิ์ ธนวัฒโน และคณะ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) ข้อมูลความดันโลหิตและน้ำหนักเป็นข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นที่สำคัญในการบ่งบอกถึงสุขภาพของผู้รับการตรวจ นอกจากนั้นการตรวจวัดเป็นประจำทำให้สามารถคาดการณ์สภาวะการเกิดโรคของผู้รับการตรวจวัดซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้เกิดความตระหนักแก่ประชาชนผู้รับการตรวจข้อมูลดังกล่าวเบื้องต้น ผลการตรวจที่ถูกเก็บในระบบคลาวน์ทำให้ทั้งตัวผู้ตรวจวัดเองทราบและตระหนักถึงภาวะสุขภาพตนเองในปัจจุบันและอดีตตั้งแต่เริ่มทำการตรวจวัด ขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำกับและกำหนดนโยบายสาธารณะสุขสามารถเข้าถึงภาพรวมของสุขภาพของประชาชนเพื่อใช้ในการกำหนดนโยบายต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถวัดความดันโลหิตชนิดสอดแขนแบบอัตโนมัติในขณะที่ผู้ใช้งานอยู่ในท่านั่ง สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้ สามารถชั่งน้ำหนักของผู้ใช้งานได้ มีช่องเสียบบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ดเพื่อใช้ระบุตัวตน และบันทึกข้อมูลสุขภาพ แสดงผลค่าที่ความดัน น้ำหนัก และอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อวัดเสร็จที่หน้าจอแสดงผล มีระบบแนะนำการใช้งานเป็นขั้นตอนด้วยภาพและเสียงภาษาไทย สแกน QR CODE เพื่ออ่านข้อมูลการวัดของตนเองไปยังสมาร์ทโฟนของผู้ใช้งาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี วัดน้ำหนักและความดันโลหิตและแสดงผลเป็นระดับความเสี่ยง ให้ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index และแสดงเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลก้อนเมฆเป็นประวัติการวัดของผู้ใช้งาน ผู้กำหนดนโยบายภาครัฐวิเคราะห์ภาพรวมสุขภาพจากข้อมูลดังกล่าว สถานภาพของผลงาน ลิขสิทธิ์ เลขที่คำขอ ว1.8261 เรื่อง เฟิร์มแวร์สั่งการระบบตรวจวัดสุขภาพอัจฉริยะรุ่นที่ 1 ยื่นคำขอวันที่ 20 กันยายน 2562 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป สถานพยาบาลส่วนกลางและท้องถิ่น ผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขและผู้กำหนดนโยบาย ติดต่อสอบถาม กุลภัทร์ เฉลิมงาม สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี […]

The post เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk appeared first on NAC2021.

]]>

เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk

เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.ชูศักดิ์ ธนวัฒโน และคณะ
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED)

        ข้อมูลความดันโลหิตและน้ำหนักเป็นข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นที่สำคัญในการบ่งบอกถึงสุขภาพของผู้รับการตรวจ นอกจากนั้นการตรวจวัดเป็นประจำทำให้สามารถคาดการณ์สภาวะการเกิดโรคของผู้รับการตรวจวัดซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้เกิดความตระหนักแก่ประชาชนผู้รับการตรวจข้อมูลดังกล่าวเบื้องต้น ผลการตรวจที่ถูกเก็บในระบบคลาวน์ทำให้ทั้งตัวผู้ตรวจวัดเองทราบและตระหนักถึงภาวะสุขภาพตนเองในปัจจุบันและอดีตตั้งแต่เริ่มทำการตรวจวัด ขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่กำกับและกำหนดนโยบายสาธารณะสุขสามารถเข้าถึงภาพรวมของสุขภาพของประชาชนเพื่อใช้ในการกำหนดนโยบายต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

na08-health-check-kiosk-02

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถวัดความดันโลหิตชนิดสอดแขนแบบอัตโนมัติในขณะที่ผู้ใช้งานอยู่ในท่านั่ง
  • สามารถวัดอัตราการเต้นของหัวใจได้
  • สามารถชั่งน้ำหนักของผู้ใช้งานได้
  • มีช่องเสียบบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ดเพื่อใช้ระบุตัวตน และบันทึกข้อมูลสุขภาพ
  • แสดงผลค่าที่ความดัน น้ำหนัก และอัตราการเต้นของหัวใจ เมื่อวัดเสร็จที่หน้าจอแสดงผล
  • มีระบบแนะนำการใช้งานเป็นขั้นตอนด้วยภาพและเสียงภาษาไทย
  • สแกน QR CODE เพื่ออ่านข้อมูลการวัดของตนเองไปยังสมาร์ทโฟนของผู้ใช้งาน

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • วัดน้ำหนักและความดันโลหิตและแสดงผลเป็นระดับความเสี่ยง
  • ให้ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index และแสดงเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
  • ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลก้อนเมฆเป็นประวัติการวัดของผู้ใช้งาน
  • ผู้กำหนดนโยบายภาครัฐวิเคราะห์ภาพรวมสุขภาพจากข้อมูลดังกล่าว

สถานภาพของผลงาน

        ลิขสิทธิ์ เลขที่คำขอ ว1.8261 เรื่อง เฟิร์มแวร์สั่งการระบบตรวจวัดสุขภาพอัจฉริยะรุ่นที่ 1 ยื่นคำขอวันที่ 20 กันยายน 2562

กลุ่มเป้าหมาย

  • ประชาชนทั่วไป
  • สถานพยาบาลส่วนกลางและท้องถิ่น
  • ผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขและผู้กำหนดนโยบาย

ติดต่อสอบถาม

กุลภัทร์ เฉลิมงาม
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post เครื่องตรวจวัดสุขภาพเบื้องต้นอัตโนมัติ Health Check Kiosk appeared first on NAC2021.

]]>
กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/14/na12-microneedle/ Sun, 14 Mar 2021 15:40:18 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=14139 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ทีมวิจัยเข็มระดับนาโน (NND) กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน (RMNS) ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) เข็มขนาดไมโครเมตรได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการใช้เข็มธรรมดาทั่วไป เข็มขนาดไมโครเมตรนี้จะเจาะผ่านผิวหนังชั้นนอก ไม่ลึกลงไปถึงเส้นเลือดและเส้นประสาทจึงส่งผลให้ไม่รู้สึกเจ็บปวด เมื่อเทียบกับเข็มธรรมดาทั่วไปที่เจาะลงไปลึกถึงเส้นประสาท นอกจากนั้นเข็มขนาดไมโครเมตรยังถูกใช้ในการฟื้นฟูสภาพผิว ลดรอยเหี่ยวย่น รอยแผลเป็น โดยสมบัติการซ่อมแซมตัวเองของผิวหนัง เมื่อถูกเข็มขนาดไมโครเมตรปักลงไปในผิวชั้นนอก จากประโยชน์ดังกล่าว เข็มขนาดไมโครเมตรจึงได้รับความนิยมในทางการแพทย์และความงามมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถสร้างเข็มขนาดไมโครเมตรได้หลายพื้นผิว รวมถึงผ้าและพื้นผิวอ่อนนิ่ม ปลายเข็มเล็กมาก (~5 μm) เมื่อเทียบกับในท้องตลาดทั่วไป ปรับเปลี่ยนจำนวนเข็มต่อพื้นที่ได้มากถึง 1,200 needle/cm2 มีรูปแบบเข็มที่หลากหลาย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี นำส่งเวชสำอาง นำส่งยา วัคซีน เก็บตัวอย่าง DNA และของเหลวใต้ผิวหนัง สถานภาพของผลงาน คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001004302 เรื่อง กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตรด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว ยื่นคำขอวันที่ 31/07/2563 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์ ผู้ประกอบการเครื่องสำอาง เวชสำอาง ความงาม ผู้ประกอบการด้านยาและวัคซีน ติดต่อสอบถาม จิรนันท์ บุบผามาลา […]

The post กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง<br>และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว appeared first on NAC2021.

]]>

กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง
และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง
และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ทีมวิจัยเข็มระดับนาโน (NND)
กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน (RMNS)
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

        เข็มขนาดไมโครเมตรได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดอาการเจ็บปวดจากการใช้เข็มธรรมดาทั่วไป เข็มขนาดไมโครเมตรนี้จะเจาะผ่านผิวหนังชั้นนอก ไม่ลึกลงไปถึงเส้นเลือดและเส้นประสาทจึงส่งผลให้ไม่รู้สึกเจ็บปวด เมื่อเทียบกับเข็มธรรมดาทั่วไปที่เจาะลงไปลึกถึงเส้นประสาท นอกจากนั้นเข็มขนาดไมโครเมตรยังถูกใช้ในการฟื้นฟูสภาพผิว ลดรอยเหี่ยวย่น รอยแผลเป็น โดยสมบัติการซ่อมแซมตัวเองของผิวหนัง เมื่อถูกเข็มขนาดไมโครเมตรปักลงไปในผิวชั้นนอก จากประโยชน์ดังกล่าว เข็มขนาดไมโครเมตรจึงได้รับความนิยมในทางการแพทย์และความงามมากขึ้น

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถสร้างเข็มขนาดไมโครเมตรได้หลายพื้นผิว รวมถึงผ้าและพื้นผิวอ่อนนิ่ม
  • ปลายเข็มเล็กมาก (~5 μm) เมื่อเทียบกับในท้องตลาดทั่วไป
  • ปรับเปลี่ยนจำนวนเข็มต่อพื้นที่ได้มากถึง 1,200 needle/cm2
  • มีรูปแบบเข็มที่หลากหลาย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • นำส่งเวชสำอาง
  • นำส่งยา วัคซีน
  • เก็บตัวอย่าง DNA และของเหลวใต้ผิวหนัง

สถานภาพของผลงาน

        คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2001004302 เรื่อง กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตรด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสงและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว ยื่นคำขอวันที่ 31/07/2563

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์
  • ผู้ประกอบการเครื่องสำอาง เวชสำอาง ความงาม
  • ผู้ประกอบการด้านยาและวัคซีน

ติดต่อสอบถาม

จิรนันท์ บุบผามาลา
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post กระบวนการผลิตเข็มขนาดไมโครเมตร ด้วยเทคนิคการหักเหแสงในพอลิเมอร์ไวแสง<br>และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว appeared first on NAC2021.

]]>
วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na07-antibiotic-delivery-material-bone/ Sat, 13 Mar 2021 06:39:53 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13648 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.จินตมัย สุวรรณประทีป และคณะ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) การอักเสบและติดเชื้อของกระดูก อาจนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะหรือแม้แต่การเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที การใช้การผ่าตัดและการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดเป็นแนวทางการรักษาทั่วไป ในปัจจุบันมีการใช้วัสดุนำส่งยาที่เป็นเม็ดกลมที่ร้อยเป็นสายได้ นำไปวางในบริเวณแผลเพื่อให้วัสดุปลดปล่อยยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียในบริเวณบาดแผล แต่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายในภายหลัง  โดยแนวคิดหลักคือการพัฒนาวัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะสำหรับการรักษาการอักเสบและติดเชื้อของกระดูกโดยไม่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายผู้ป่วยภายหลังการใช้งาน คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี สามารถปลดปล่อยยาปฏิชีวนะปริมาณสูงเพื่อรักษาอาการอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้งานได้โดยไม่ต้องนำวัสดุนำส่งยาออกจากร่างกายผู้ป่วย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทำหน้าที่เป็นกระดูกเทียมได้พร้อมกัน ใส่ยาปฏิชีวนะได้หลายประเภท สถานภาพของผลงาน คำขอรับสิทธิบัตรเลขที่ 0801004126 เรื่องกรรมวิธีการผลิตแคลเซียมฟอสเฟตสาหรับใช้งานทางการแพทย์โดยการเปลี่ยนเฟสของสารประกอบของแคลเซียมที่อุณหภูมิต่ำ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มบริษัทเอกชนผู้สนใจผลิตผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ  / บริษัทยา กลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ ติดต่อสอบถาม ขนิษฐา สิริจามร สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์: 0 2564 7000 ต่อ 1618 E-mail: tlo-ipb@nstda.or.th เว็บไซต์: www.nstda.or.th

The post วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก appeared first on NAC2021.

]]>

วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก

วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.จินตมัย สุวรรณประทีป และคณะ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

        การอักเสบและติดเชื้อของกระดูก อาจนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะหรือแม้แต่การเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที การใช้การผ่าตัดและการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดเป็นแนวทางการรักษาทั่วไป ในปัจจุบันมีการใช้วัสดุนำส่งยาที่เป็นเม็ดกลมที่ร้อยเป็นสายได้ นำไปวางในบริเวณแผลเพื่อให้วัสดุปลดปล่อยยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียในบริเวณบาดแผล แต่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายในภายหลัง  โดยแนวคิดหลักคือการพัฒนาวัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะสำหรับการรักษาการอักเสบและติดเชื้อของกระดูกโดยไม่ต้องนำวัสดุดังกล่าวออกจากร่างกายผู้ป่วยภายหลังการใช้งาน

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • สามารถปลดปล่อยยาปฏิชีวนะปริมาณสูงเพื่อรักษาอาการอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ใช้งานได้โดยไม่ต้องนำวัสดุนำส่งยาออกจากร่างกายผู้ป่วย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • ทำหน้าที่เป็นกระดูกเทียมได้พร้อมกัน
  • ใส่ยาปฏิชีวนะได้หลายประเภท

สถานภาพของผลงาน

        คำขอรับสิทธิบัตรเลขที่ 0801004126
        เรื่องกรรมวิธีการผลิตแคลเซียมฟอสเฟตสาหรับใช้งานทางการแพทย์โดยการเปลี่ยนเฟสของสารประกอบของแคลเซียมที่อุณหภูมิต่ำ

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มบริษัทเอกชนผู้สนใจผลิตผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ  / บริษัทยา
  • กลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post วัสดุนำส่งยาปฏิชีวนะ สำหรับการรักษาการอักเสบติดเชื้อของกระดูก appeared first on NAC2021.

]]>
ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และมีการกระจายแสงที่ดี http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na06-multitech-ultra/ Sat, 13 Mar 2021 06:06:41 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13613 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อทิตย์สา เพ็ชรสุข และ ดร.ดวงพร ศิริกิตติกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ปัจจุบันฟิล์มคลุมโรงเรือนส่วนใหญ่ที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยยังไม่สามารถครอบคลุมความต้องการของเกษตรกรได้ครบถ้วน เพราะพืชแต่ละชนิดมีความต้องการเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษณะของฟิล์มคลุมโรงเรือนที่ดี คือ ฟิล์มที่มีคุณสมบัติกรองรังสี UV ป้องกันรังสีความร้อน กระจายแสงดี และมีอายุการใช้งานที่เหมาะสม ในราคาต้นทุนที่เกษตรกรยอมรับได้ ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และผลิตผลมีคุณภาพสูง ทำให้เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลิตผลในราคาที่สูงขึ้นได้ อย่างไรก็ตามฟิล์มคลุมโรงเรือนทางการค้ามักมีสมบัติเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นนักวิจัยของ MTEC จึงได้วิจัยและพัฒนาฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติหลายอย่างในฟิล์มเดียว เช่น ฟิล์ม MultiTech มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี และกระจายแสงดี ฟิล์ม MultiTech-Ultra มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และกระจายแสงดี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรในการเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี ลดการส่องผ่านรังสีช่วงยูวี (Ultraviolet; UV) สะท้อนรังสีความร้อนช่วงอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared Radiation; NIR) กระจายแสงได้ดี พืชได้รับแสงทั่วถึง ให้รังสีช่วงที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (Photosynthetically Active Radiation; […]

The post ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน <br>และมีการกระจายแสงที่ดี appeared first on NAC2021.

]]>

ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน
และมีการกระจายแสงที่ดี

ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน
และมีการกระจายแสงที่ดี

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อทิตย์สา เพ็ชรสุข
และ ดร.ดวงพร ศิริกิตติกุล
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

       ปัจจุบันฟิล์มคลุมโรงเรือนส่วนใหญ่ที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศไทยยังไม่สามารถครอบคลุมความต้องการของเกษตรกรได้ครบถ้วน เพราะพืชแต่ละชนิดมีความต้องการเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ลักษณะของฟิล์มคลุมโรงเรือนที่ดี คือ ฟิล์มที่มีคุณสมบัติกรองรังสี UV ป้องกันรังสีความร้อน กระจายแสงดี และมีอายุการใช้งานที่เหมาะสม ในราคาต้นทุนที่เกษตรกรยอมรับได้ ซึ่งจะช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และผลิตผลมีคุณภาพสูง ทำให้เกษตรกรสามารถจำหน่ายผลิตผลในราคาที่สูงขึ้นได้ อย่างไรก็ตามฟิล์มคลุมโรงเรือนทางการค้ามักมีสมบัติเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นนักวิจัยของ MTEC จึงได้วิจัยและพัฒนาฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติหลายอย่างในฟิล์มเดียว เช่น ฟิล์ม MultiTech มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี และกระจายแสงดี ฟิล์ม MultiTech-Ultra มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน และกระจายแสงดี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรในการเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก 

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  1. ลดการส่องผ่านรังสีช่วงยูวี (Ultraviolet; UV)
  2. สะท้อนรังสีความร้อนช่วงอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared Radiation; NIR)
  3. กระจายแสงได้ดี พืชได้รับแสงทั่วถึง
  4. ให้รังสีช่วงที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (Photosynthetically Active Radiation; PAR) ส่องผ่านได้สูง
  5. แผ่นฟิล์มมีความทนทานและสมบัติเชิงกลที่ดี

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        พลาสติกสำหรับคลุมโรงเรือน ที่สามารถคัดกรองแสงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ช่วยเพิ่มผลผลิต และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร 1 ฉบับ และความลับทางการค้า 3 เรื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการเกษตร
  • กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
  • กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่, เกษตรกรผู้ผลิตผักผลไม้ปลอดภัย หรือกลุ่มเกษตรอินทรีย์

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ:

The post ฟิล์มคลุมโรงเรือนที่มีสมบัติลดการส่องผ่านของรังสียูวี สะท้อนรังสีความร้อน <br>และมีการกระจายแสงที่ดี appeared first on NAC2021.

]]>
แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na05_flat-feet-arch-support/ Sat, 13 Mar 2021 05:52:13 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13590 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.บุญล้อม ถาวรยุติการต์ และคณะ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ภาวะเท้าแบน (Flat feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางเท้า ฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด โดยตรงกลางฝ่าเท้าที่โค้งขึ้นมา (อุ้งเท้า) (Arch) จะสูญเสียความโค้งของอุ้งเท้าตามธรรมชาติไป ภาวะเท้าแบนเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อและกระดูกของฝ่าเท้าและขาส่วนล่าง โดยมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เอ็นข้อเท้าหย่อนยาน ข้อเท้าเสื่อม กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาทขาซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเยอะและอายุมาก หรือผู้ป่วยบางคนที่มีความผิดปกติตั้งแต่เกิด หรือกระดูกเท้ายังเจริญไม่เต็มที่เมื่ออยู่ในครรภ์ รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวมาทางพันธุกรรม เป็นต้น โดยปกติภาวะเท้าแบนที่เกิดขึ้นในคนส่วนใหญ่ มักไม่ปรากฏสัญญาณหรืออาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกเจ็บเท้า โดยเฉพาะบริเวณส้นเท้าหรืออุ้งเท้า อาการเจ็บนั้นจะยิ่งแย่ลงเมื่อต้องทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเกิดอาการบวมที่ข้อเท้าด้านในร่วมด้วย ภาวะเท้าแบน (Flat feet) วิธีรักษาภาวะเท้าแบนขึ้นอยู่กับสาเหตุและระดับความรุนแรงของอาการ หนึ่งในวิธีรักษาภาวะเท้าแบนที่แพทย์แนะนำ คือ การใช้กายอุปกรณ์เสริมปรับสภาพเท้า (orthotics/insoles) หรือแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) โดยแผ่นรองในรองเท้าจะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า ผู้ป่วยจะสอดแผ่นรองในรองเท้าไว้ในรองเท้า คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี เป็นวัสดุแผ่นรองในรองเท้าที่มีรูปทรงจำเพาะกับผู้ป่วยแต่ละคน เป็นแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) ที่จะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า […]

The post แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน appeared first on NAC2021.

]]>

แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน

แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.บุญล้อม ถาวรยุติการต์ และคณะ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)

        ภาวะเท้าแบน (Flat feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางเท้า ฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด โดยตรงกลางฝ่าเท้าที่โค้งขึ้นมา (อุ้งเท้า) (Arch) จะสูญเสียความโค้งของอุ้งเท้าตามธรรมชาติไป ภาวะเท้าแบนเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อและกระดูกของฝ่าเท้าและขาส่วนล่าง โดยมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เอ็นข้อเท้าหย่อนยาน ข้อเท้าเสื่อม กระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาทขาซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเยอะและอายุมาก หรือผู้ป่วยบางคนที่มีความผิดปกติตั้งแต่เกิด หรือกระดูกเท้ายังเจริญไม่เต็มที่เมื่ออยู่ในครรภ์ รวมทั้งได้รับการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวมาทางพันธุกรรม เป็นต้น โดยปกติภาวะเท้าแบนที่เกิดขึ้นในคนส่วนใหญ่ มักไม่ปรากฏสัญญาณหรืออาการใดๆ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกเจ็บเท้า โดยเฉพาะบริเวณส้นเท้าหรืออุ้งเท้า อาการเจ็บนั้นจะยิ่งแย่ลงเมื่อต้องทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเกิดอาการบวมที่ข้อเท้าด้านในร่วมด้วย

ภาวะเท้าแบน (Flat feet)

        วิธีรักษาภาวะเท้าแบนขึ้นอยู่กับสาเหตุและระดับความรุนแรงของอาการ หนึ่งในวิธีรักษาภาวะเท้าแบนที่แพทย์แนะนำ คือ การใช้กายอุปกรณ์เสริมปรับสภาพเท้า (orthotics/insoles) หรือแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) โดยแผ่นรองในรองเท้าจะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า ผู้ป่วยจะสอดแผ่นรองในรองเท้าไว้ในรองเท้า

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • เป็นวัสดุแผ่นรองในรองเท้าที่มีรูปทรงจำเพาะกับผู้ป่วยแต่ละคน
  • เป็นแผ่นรองในรองเท้าที่มีส่วนซัพพอร์ตอุ้งเท้า (arch support) ที่จะบรรเทาอาการเจ็บเท้าและช่วยหนุนเท้า
  • ใช้ระยะเวลาการผลิตสั้น ลดขั้นตอนการผลิต และลดการสูญเสียวัสดุในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับการผลิตอุปกรณ์แผ่นรองในรองเท้าแบบทั่วไป

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • การใช้เทคโนโลยีการขึ้นรูปด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ (3D printing Technology)
  • การพัฒนาสูตรพอลิเมอร์ผสมสำหรับการเตรียมเส้นฟิลาเม้นต์สำหรับใช้ในการขึ้นรูปชิ้นส่วนโครงพลาสติกของแผ่นรองในรองเท้าด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติชนิดหัวอัดรีด

สถานภาพของผลงาน

        อนุสิทธิบัตรเรื่อง “เส้นฟิลาเม้นต์พอลิเมอร์ที่มีสมบัติแข็งแรงและเหนียวสำหรับการพิมพ์สามมิติระบบเอฟดีเอ็ม” เลขที่คำขอ 2003001234

กลุ่มเป้าหมาย

  • กลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน
  • กลุ่มบริษัทที่ผลิต Insole
  • กลุ่มโรงพยาบาลที่รักษาผู้ป่วยเท้าแบน

ติดต่อสอบถาม

ขนิษฐา สิริจามร
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post แผ่นรองในรองเท้าเฉพาะรายจากเครื่องพิมพ์สามมิติในกลุ่มผู้ป่วยเท้าเเบน appeared first on NAC2021.

]]>
สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/13/na04-nanoemulsion-black-galingale/ Sat, 13 Mar 2021 05:17:00 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13572 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อุดม อัศวาภิรมย์ ดร.ดวงพร พลพานิช นางสาวจารุวรรณ จูฑะมงคล และนางสาวกรกต ศุภนคร ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) กระชายดำเป็นพืชสมุนไพร ที่สามารถพบได้มากในประเทศไทยเช่น เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี พิษณุโลก และจังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือ มีรายงานพบว่ากระชายดำมีสรรพคุณตามตำรายาไทยในด้าน บำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย แก้อาการเหนื่อยล้า เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะ กระตุ้นระบบประสาท รักษาความสมดุลความดันโลหิต ขยายหลอดเลือดหัวใจ รักษาสมดุลของระบบการย่อย แก้โรคบิด ลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากสรรพคุณทางยาแล้ว กระชายดำยังมีฤทธิ์ทางด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นโดยทีมวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ พบว่า สารสกัดจากเหง้ากระชายดำมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ เช่น Micrococcus sedentarius  Trichophyton mentagrophytes และ Trichophyton rubrum ทีมวิจัยจึงได้นำสารสกัดกระชายดำมาพัฒนาเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นในรูปแบบสเปรย์นาโนอิมัลชัน ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ยับยั้งเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา (Antimicrobial activity) […]

The post สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น appeared first on NAC2021.

]]>

สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น

สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อุดม อัศวาภิรมย์
ดร.ดวงพร พลพานิช
นางสาวจารุวรรณ จูฑะมงคล
และนางสาวกรกต ศุภนคร
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

        กระชายดำเป็นพืชสมุนไพร ที่สามารถพบได้มากในประเทศไทยเช่น เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี พิษณุโลก และจังหวัดอื่นๆ ทางภาคเหนือ มีรายงานพบว่ากระชายดำมีสรรพคุณตามตำรายาไทยในด้าน บำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย แก้อาการเหนื่อยล้า เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะ กระตุ้นระบบประสาท รักษาความสมดุลความดันโลหิต ขยายหลอดเลือดหัวใจ รักษาสมดุลของระบบการย่อย แก้โรคบิด ลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากสรรพคุณทางยาแล้ว กระชายดำยังมีฤทธิ์ทางด้านการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นโดยทีมวิจัยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ พบว่า สารสกัดจากเหง้ากระชายดำมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ เช่น Micrococcus sedentarius  Trichophyton mentagrophytes และ Trichophyton rubrum ทีมวิจัยจึงได้นำสารสกัดกระชายดำมาพัฒนาเป็นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นในรูปแบบสเปรย์นาโนอิมัลชัน ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ยับยั้งเชื้อทางชีวภาพที่เป็นสาเหตุของโรคทางผิวหนังที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา (Antimicrobial activity) จึงช่วยลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการสะสมของเชื้อราและแบคทีเรีย
  • เป็นผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจากธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง
  • สูตรตำรับอยู่ในรูปแบบนาโนอิมัลชั่น ที่ช่วยเพิ่มการกระจายตัวและความคงตัวของสารสกัดในสูตรตำรับ
  • ขั้นตอนการผลิตสามารถทำได้โดยอุปกรณ์เครื่องจัดทั่วไปในระดับอุตสาหกรรม

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        ใช้สำหรับดับกลิ่นบริเวณที่เกิดการสะสมของแบคทีเรีย เช่น เท้า รักแร้ หรือบริเวณในร่มผ้า เป็นต้น

สถานภาพของผลงาน

        ได้รับความคุ้มครองภายใต้คำขออนุสิทธิบัตร ยื่นคำขอวันที่ 26 ก.ย. 2561

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ส่วนบุคคลหรือเครื่องสำอาง
  • ผู้ผลิตสารสกัดธรรมชาติ

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post สเปรย์นาโนอิมัลชั่นผสมสารสกัดกระชายดำสำหรับดับกลิ่น appeared first on NAC2021.

]]>
MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na11-mueye-robokid/ Fri, 12 Mar 2021 14:19:45 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13411 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ดร.อัชฌา กอบวิทยา ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT) กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญในการศึกษารายละเอียดของสิ่งของเล็กๆ มีประโยชน์ทั้งในวงการการศึกษาและอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การดูสิ่งสิ่งมีชีวิต/วัตถุขนาดเล็กในวิชาวิทยาศาสตร์ ใช้ในการตรวจความบกพร่องของชิ้นงาน รอยแตกขนาดเล็ก หรือสิ่งปลอมปนต่างๆ แต่กล้องจุลทรรศน์ส่วนใหญ่ ต้องติดกล้องถ่ายภาพเพิ่ม ทำให้ราคาเพิ่มสูงขึ้น มิวอายโรโบคิด (MuEye ROBOKid) เป็นกล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็กที่ประยุกต์มาจากเลนส์มิวอายแบบเดิมที่ทำจากเลนส์พอลิเมอร์ ใช้ติดกับกล้องถ่ายภาพพกพาอย่างแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน และใช้งานเป็นกล้องจุลทรรศน์พกพา มิวอายโรโบคิดสามารถแสดงภาพผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถปรับระยะโฟกัส หรือเลื่อนตำแหน่งของวัตถุตัวอย่างได้โดยสั่งการผ่านบอร์ด KidBright ทำให้การใช้งานกล้องจุลทรรศน์มีความสะดวกและสนุกมากขึ้น คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี มีฟังก์ชั่นเลื่อนหาระยะภาพคมชัดแบบอัตโนมัติ ควบคุมความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงด้วยคิดไบร์ท เลื่อนตำแหน่งด้วยความละเอียดถึง 25 ไมครอน/Step ด้วยบอร์ดคิดไบร์ท สแกนถ่ายภาพต่อเนื่องทั้งแผ่นสไลด์ เพื่อเก็บรายละเอียดในแต่ละตำแหน่ง สามารถกดเรียกหาตำแหน่งของวัตถุได้ ทำให้การใช้งานง่ายและสนุกมากขึ้น เลนส์พอลิเมอร์ ทนทานต่อเชื้อรา บรรจุในแผ่นพลาสติก เปลี่ยนกำลังขยายได้ง่าย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในและนอกสถานที่ การตรวจสอบวัสดุปนเปื้อนขนาดเล็กเบื้องต้น เป็นต้น การแบ่งปันข้อมูลที่ได้ เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน และ การพัฒนาแอพลิเคชั่นโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มประสิทธิภาพ […]

The post MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด appeared first on NAC2021.

]]>

MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด

MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ดร.อัชฌา กอบวิทยา
ทีมวิจัยเทคโนโลยีโฟโทนิกส์ (PHT)
กลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

               กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญในการศึกษารายละเอียดของสิ่งของเล็กๆ มีประโยชน์ทั้งในวงการการศึกษาและอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การดูสิ่งสิ่งมีชีวิต/วัตถุขนาดเล็กในวิชาวิทยาศาสตร์ ใช้ในการตรวจความบกพร่องของชิ้นงาน รอยแตกขนาดเล็ก หรือสิ่งปลอมปนต่างๆ แต่กล้องจุลทรรศน์ส่วนใหญ่ ต้องติดกล้องถ่ายภาพเพิ่ม ทำให้ราคาเพิ่มสูงขึ้น

       มิวอายโรโบคิด (MuEye ROBOKid) เป็นกล้องจุลทรรศน์ขนาดเล็กที่ประยุกต์มาจากเลนส์มิวอายแบบเดิมที่ทำจากเลนส์พอลิเมอร์ ใช้ติดกับกล้องถ่ายภาพพกพาอย่างแท็บเล็ตหรือสมาร์ทโฟน และใช้งานเป็นกล้องจุลทรรศน์พกพา มิวอายโรโบคิดสามารถแสดงภาพผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถปรับระยะโฟกัส หรือเลื่อนตำแหน่งของวัตถุตัวอย่างได้โดยสั่งการผ่านบอร์ด KidBright ทำให้การใช้งานกล้องจุลทรรศน์มีความสะดวกและสนุกมากขึ้น

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

  • มีฟังก์ชั่นเลื่อนหาระยะภาพคมชัดแบบอัตโนมัติ
  • ควบคุมความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงด้วยคิดไบร์ท
  • เลื่อนตำแหน่งด้วยความละเอียดถึง 25 ไมครอน/Step ด้วยบอร์ดคิดไบร์ท
  • สแกนถ่ายภาพต่อเนื่องทั้งแผ่นสไลด์ เพื่อเก็บรายละเอียดในแต่ละตำแหน่ง
  • สามารถกดเรียกหาตำแหน่งของวัตถุได้ ทำให้การใช้งานง่ายและสนุกมากขึ้น
  • เลนส์พอลิเมอร์ ทนทานต่อเชื้อรา บรรจุในแผ่นพลาสติก เปลี่ยนกำลังขยายได้ง่าย

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

  • การเรียนการสอนในและนอกสถานที่ 
  • การตรวจสอบวัสดุปนเปื้อนขนาดเล็กเบื้องต้น เป็นต้น 
  • การแบ่งปันข้อมูลที่ได้ เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน และ การพัฒนาแอพลิเคชั่นโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
  • การเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการเรียนรู้

สถานภาพของผลงาน: สิทธิบัตร 6 ฉบับ

  • กระบวนการผลิตเลนส์แบบยืดหยุ่นจากวัสดุพอลิเมอร์ เลขที่คำขอ 1401005905
  • กระบวนการผลิตเลนส์โดยอาศัยแรงตึงผิวที่ชั้นรอยต่อของของเหลว เลขที่คำขอ 1401005695
  • กระบวนการผลิตเลนส์จากพอลิเมอร์ เลขที่คำขอ 1501004712
  • กรรมวิธีการขึ้นรูปชิ้นงานด้วยความร้อนแบบไม่ใช้แม่พิมพ์ เลขที่คำขอ 1501004969
  • กระบวนการเพิ่มแรงยึดติด เลขที่คำขอ 1501003211
  • เลนส์ขยาย เลขที่คำขอ 1502002635

กลุ่มเป้าหมาย

  • นักเรียน นักศึกษา บุคคลทั่วไป หรือ งานที่ต้องเก็บตัวอย่างจากภาคสนามมาวิเคราะห์ในห้องแล็บ
  • หน่วยงานภาครัฐ เช่น สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
  • ผู้ประกอบการที่สนใจในนวัตกรรมใหม่ๆ

วิธีโอสาธิตการใช้งาน MuEye Robokid

ติดต่อสอบถาม

ศศิน เชาวนกุล
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post MuEye RoboKid : มิวอายโรโบคิด appeared first on NAC2021.

]]>
ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก http://10.228.26.24:31824/nac/2021/2021/03/12/na02-hair-care/ Fri, 12 Mar 2021 07:25:01 +0000 https://www.nstda.or.th/nac/2021/?p=13199 วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย วิจัยและพัฒนาโดย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) ที่มาและความสำคัญ จากการศึกษาเบื้องต้นของฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบหมี่ ซึ่งเป็นสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้ทั่วไปในการผลิตแชมพูของภูมิปัญญาชาวบ้าน พบว่า สารสกัดใบหมี่มีความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผม นอกจากนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งของอาการผมร่วงอาจมาจากการอักเสบของหนังศีรษะ ดังนั้นการนำสารสกัดธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบของผิวหนัง เช่น ใบบัวบก มาเป็นสารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สำหรับผม จึงเป็นทางเลือกที่ดีอย่างหนึ่ง “แม้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยจะมีคุณสมบัติที่ดีมาก แต่ปัญหาของการทำผลิตภัณฑ์จากสารเหล่านี้คือ ความคงตัวของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากความไม่เสถียรของสารสกัด ทำให้เกิดการตกตะกอน เปลี่ยนสี หลังจากการผลิต รวมถึงอาจติดเชื้อ ทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย” โครงการวิจัย “อนุภาคสารสกัดใบหมี่และบัวบกสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง” จึงเกิดขึ้น โดย ดร.มัตถกาและทีมวิจัยของนาโนเทค พัฒนาอนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก และใบหมี่ผสมบัวบก จากการพัฒนาระบบห่อหุ้มที่ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัด พร้อมทั้งพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพเชิงเคมี เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ในการขึ้นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และมีความปลอดภัย หลังจาก พัฒนาให้สารสกัดมีความคงตัว โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสี ไม่มีการเจริญเติบโตของเชื้อ มีค่า pH ที่เหมาะสมกับเครื่องสำอาง มีการกระจายตัวที่ดีในสูตรตำรับ รวมถึงผ่านการทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัคร นักวิจัยพัฒนาต้นแบบแชมพู ครีมนวดผม และแฮร์โทนิค จากสารสกัดใบหมี่ผสมบัวบก ที่ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ พร้อมยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา […]

The post ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก appeared first on NAC2021.

]]>

ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก

ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

วิจัยและพัฒนาโดย

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ที่มาและความสำคัญ

        จากการศึกษาเบื้องต้นของฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบหมี่ ซึ่งเป็นสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้ทั่วไปในการผลิตแชมพูของภูมิปัญญาชาวบ้าน พบว่า สารสกัดใบหมี่มีความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผม นอกจากนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งของอาการผมร่วงอาจมาจากการอักเสบของหนังศีรษะ ดังนั้นการนำสารสกัดธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบของผิวหนัง เช่น ใบบัวบก มาเป็นสารออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์สำหรับผม จึงเป็นทางเลือกที่ดีอย่างหนึ่ง

        “แม้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยจะมีคุณสมบัติที่ดีมาก แต่ปัญหาของการทำผลิตภัณฑ์จากสารเหล่านี้คือ ความคงตัวของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากความไม่เสถียรของสารสกัด ทำให้เกิดการตกตะกอน เปลี่ยนสี หลังจากการผลิต รวมถึงอาจติดเชื้อ ทำให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย”

        โครงการวิจัย “อนุภาคสารสกัดใบหมี่และบัวบกสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง” จึงเกิดขึ้น โดย ดร.มัตถกาและทีมวิจัยของนาโนเทค พัฒนาอนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก และใบหมี่ผสมบัวบก จากการพัฒนาระบบห่อหุ้มที่ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัด พร้อมทั้งพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพเชิงเคมี เพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ในการขึ้นสูตรตำรับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และมีความปลอดภัย

        หลังจาก พัฒนาให้สารสกัดมีความคงตัว โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสี ไม่มีการเจริญเติบโตของเชื้อ มีค่า pH ที่เหมาะสมกับเครื่องสำอาง มีการกระจายตัวที่ดีในสูตรตำรับ รวมถึงผ่านการทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัคร นักวิจัยพัฒนาต้นแบบแชมพู ครีมนวดผม และแฮร์โทนิค จากสารสกัดใบหมี่ผสมบัวบก ที่ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ พร้อมยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญา

คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี

      • อนุภาคลิโพนิโอโซมของสารสกัดใบหมี่ บัวบก เป็นการห่อหุ้มสารสกัดสมุนไพรด้วยอนุภาคนาโน ทำให้ความคงตัวเพิ่มสูงขึ้น ลดปัญหา สี กลิ่น การตกตะกอนที่ไม่ถูกใจ
ผู้ใช้
      • ส่วนประกอบที่มีในผลิตภัณฑ์นี้ ปราศจากพาราเบน แอลกอฮอลล์ สารแต่งสีและกลิ่น และสารก่อความระคายเคืองอื่นๆ ซึ่งผ่านการทดสอบการระคายเคืองเป็นที่เรียบร้อย
      • ช่วยเพิ่มความคงตัวของสารสกัดใบหมี่และบัวบกในผลิตภัณฑ์แฮร์โทนิค ทำให้สามารถใช้ประโยชน์ของสารสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลจากการทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการกับเซลล์ผิวหนังและเซลล์รากผมพบว่า มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์รากผมได้ดีเทียบเท่ากับยารักษาอาการผมร่วงที่มีอยู่ในท้องตลาด และลดการอักเสบในเซลล์รากผมทำให้ช่วยกระตุ้นเซลล์รากผมได้ดีกว่า 20-30% เมื่อเทียบกับสารสกัดแบบดั้งเดิม

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

        เทคโนโลยีนาโนเอนแคปซูเลชั่นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ โดยเทคโนโลยีการทำอนุภาคนาโนห่อหุ้มสารสกัดใบหมี่และบัวบกนี้ สามารถพัฒนาสารสกัดดั่งเดิมเพื่อนำไปเป็นส่วนประกอบหลักในผลิตภัฑฑ์ดูแลเส้นผมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานภาพของผลงาน

        คำขออนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1803001112 เรื่อง วิธีการสกัดสารสำคัญจากต้นหมี่ และอนุภาคนาโนของสารสกัดจากต้นหมี่และต้นบัวบก ยื่นคำขอวันที่ 11 พ.ค. 2561

กลุ่มเป้าหมาย

        • ผู้ผลิตสารสกัดจากธรรมชาติ
        • ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผม
        • ผู้ผลิตเครื่องสำอาง

นักวิจัย

        ดร.มัตถกา คงขาว
        ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC)

ติดต่อสอบถาม

สโรชา เพ็งศรี
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.

The post ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมที่มีส่วนประกอบของอนุภาคใบหมี่และบัวบก appeared first on NAC2021.

]]>