หัวหน้าโครงการ

สังกัด

ชื่อโครงการ

สถานภาพโครงการ

บทคัดย่อ

1

รศ. ดร.สุนีย์  กอรปศรีเศรษฐ์

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

การวิเคราะห์ virulence factors  ของ  Burkholderia pseudomallei   ที่เกี่ยวข้องกับการอยู่รอดภายในเซลล์ฟาโกซัยท์

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

2

รศ. ดร.พงศ์ศักดิ์  อุทัยสินธุเจริญ

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

การเปลี่ยนแปลงโมเลกุลของระบบการส่งสัญญาณผ่านทาง Toll-like receptor (TLR) ในเซลล์แมคโครฟาจของหนูที่ได้รับเชื้อ Burkholderia pseudomallei

เริ่มโครงการรอรายงานฉบับที่ 1

word

3

รศ.ดร.เนติ  วระนุช

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ระบบนำส่งยารูปแบบอนุภาคของไคโตซาน สำหรับการนำส่งวัคซีนไข้สมองอักเสบ เจ อี ทางปากและจมูก ปีที่ 2 และ 3

ได้รับรายงานฉบับที่ 2

word

4

รศ. ดร. สุรศักดิ์  วงศ์รัตนชีวิน

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กลไกการเกิดโรคในระดับโมเลกุลและการหาแนวทางป้องกันต่อการติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

word

5

รศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การทำนาย epitope ของแอนติเจนก่อโรคของเชื้อราโดยวิธี immunoinformatics และทำการประเมินคุณสมบัติของ epitope โดยวิธีทางอิมมูโนวิทยา

ได้รับรายงานฉบับสมบูรณ์

 

6

รศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การปฏิสัมพันธ์ของ toll-like Receptors และ C-type lectin receptor บนผิวเซลล์เจ้าบ้านกับ conidia และ  yeast ของเชื้อรา Penicillium marneffei และการนำไปสู่การกระตุ้นของโมเลกุล MyD88

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

7

ศ.นพ.ประเสริฐ เอื้อวรากุล 

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การวิเคราะห์ผลของ capsid mutations ต่อ HIV-1 uncoating

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

8

รศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาปัจจัยทางชีววิทยาและยีนที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของรา Penicillium marneffei

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

9

รศ.ดร.เนติ  วระนุช

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ระบบนำส่งยารูปแบบอนุภาคของไคโตซาน สำหรับการนำส่งวัคซีนไข้สมองอักเสบ เจ อี ทางปากและจมูก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

10

รศ.ดร.ศรีสุรางค์  ตันติมาวานิช

คณะเทคนิคการแพทย์  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การทำจีโนไทป์ของเลปโตสไปร่าโดยใช้ยีน leptospiral leucine-rich repeat (LiLRR) เป็นยีนเครื่องหมาย

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

11

รศ.ดร.ปัทมา  เอกโพธิ์

ภาควิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การผลิตโมโนโคลนัลแอนติบอดีจำเพาะต่อเชื้อเลปโตสไปร่า และการประยุกต์ใช้ตรวจหาแอนติเจนในปัสสาวะผู้ป่วยและสัตว์รังโรค

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

12

ผศ.พญ.อรุณี  ธิติธัญญานนท์

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การค้นหา Fixed-T-Cell epitopes ในรหัสพันธุกรรมของเชื้อเอชไอวีที่สัมพันธ์กับการดำเนินโรคเอดส์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

13

ศ.ดร.ชโลบล อยู่สุข

ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การโคลนดีเอ็นเอของเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ไวรัสทัยป์ 2  ในทรานสคริปชั่นเวคเตอร์เพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

14

รศ.ดร. วัชรี อัตถทิพพหลคุณ

คณะเทคนิคการแพทย์  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสเอดส์ในเลือด

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

15

ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์

การตรวจหาการติดเชื้อ human papillomavirus ในเซลล์ปากมดลูกจากกลุ่มประชากรในจังหวัดขอนแก่น โดยวิธี  Polymerase Chain Reaction

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

16

ศ.ดร.วันเพ็ญ  ชัยคำภา

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การตรวจหาแอนติเจนของเชื้ออหิวาต์อย่างรวดเร็ว

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

17

ศ.พญ.พนิดา ชัยเนตร

คณะแพทยศาสตร์ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาดีเอ็นเอโพรบสำหรับการตรวจวินิจฉัยเอ็นเตอริกแบคทีเรียในอาหาร

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

18

ศ.นพ.สิริฤกษ์  ทรงศิวิไล

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาและผลิตชุดการตรวจวินิจฉัยโรคไวรัสตับอักเสบชนิดซีและชนิดบี

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

19

ผศ.ดร. กนกวรรณ พุ่มพุทรา

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยที่มีความรวดเร็วและประสิทธิภาพ เพื่อใช้ในการตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อ Salmonella ในอาหาร

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

20

ศ.พญ.ธารารัชต์  ธารากุล

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การพัฒนาและผลิตชุดการตรวจสำเร็จรูปเพื่อวินิจฉัยโรคเมลิออยโดสิส

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

21

รศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การแยกยีนแฟลคจิลิน (flagellin) ของ Burkolderia (Pseudomonas) pseudomalle โดยอาศัยเทคนิคพีซีอาร์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

22

ศ.ดร.วันเพ็ญ  ชัยคำภา

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาวิธีการวินิจฉัยอหิวาต์ซึ่งเกิดจากเชื้อ Vibrio cholerae serogroup O:139 และการตรวจหาแอนติเจนอย่างรวดเร็ว

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

23

ศ.พญ.รวงผึ้ง สุทเธนทร์    

ภาควิชาจุลชีววิทยา  คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

การผลิตไกลโคโปรตีนส่วนเปลือกของไวรัสก่อโรคเอดส์ที่ระบาดในประเทศไทย โดยวิธีพันธุวิศวกรรม และการนำโปรตีนนี้มาใช้เป็นแอนติเจน ในชุดทดสอบหาแอนติบอดีจำเพาะ และใช้เป็นต้นแบบของการผลิตวัคซีนป้องกันโรคเอดส์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

24

รศ.ดร.วราภรณ์ วุฑฒะกุล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การพัฒนา selective medium เพื่อใช้แยกเชื้อ V. hollisae และการศึกษาความเป็นไปได้ของการถ่ายทอดยีนส์ tdh โดย bacteriophage

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

25

รศ. ดร.รวี เถียรไพศาล

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การศึกษาคุณลักษณะของยีนแบคทิริโอซินของเชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์พรีโวเทลลา ไนเกรสเซนส์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

26

นางเพียงจันทร์ สนธยานนท์

ศูนย์พันธุวิศกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

การพัฒนาวิธีพีซีอาร์ชิ้นส่วนจำเพาะของยีนแฟคจิลิน เพื่อการวิเคราะห์เชื้อ Burkholderia pseudomallei ที่ก่อพยาธิสภาพของโรคเมลิออยโดสิส

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

27

ศ.ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การสร้างชุด PCR kit สำหรับตรวจสอบเชื้อ Salmonella

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

28

รศ.ดร.พญ.แจ่มใส เพียรทอง

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การตรวจโปรตีน p16 ในเซลล์ขูดปากมดลูกที่ติดเชื้อ human papillomavirus (HPV) และความสัมพันธ์ต่อความผิดปกติของเซลล์ขูดปากมดลูก

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

29

ผศ.ดร.พญ.ชนิตรา ธุวจิตต์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การวิเคราะห์คุณสมบัติการโคลนนิ่ง และผลิตสารคัดหลั่งจากพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverrini ที่มีฤทธิ์เร่งการเติบโตของเซลล์

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

word

30

ผศ.ดร.อารยา ชูสัตยานนท์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การเตรียมแอนติเจนพยาธิใบไม้ในตับ (Opisthorchis viverrini) โดยวิธีทางพันธุวิศวกรรมเพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

31

รศ.ดร.นิสันต์ สัตยาศัย

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การศึกษาคุณสมบัติ แยก และเตรียมให้บริสุทธิ์ของแอนติเจนที่แสดงความจำเพาะจากพยาธิใบไม้ตับ

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

32

รศ.ดร.ประเสริฐ สันตินานาเลิศ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การพัฒนาวิธีตรวจสอบการติดเชื้อโรคพยาธิใบไม้ตับในโค และกระบือด้วยโมโนโคลนัลแอนติบอดี

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

33

ผศ.ดร.ปราณี ลี้ชนะชัย

คณะเทคนิคการแพทย์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การพัฒนาวิธีการตรวจหา mRNA ด้วยวิธีการเพิ่มปริมาณ กรดนิวคลีอิกเพื่อใช้พยากรณ์ความเสี่ยงของ   การเกิดมะเร็งปากมดลูกในผู้ติดเชื้อ Human papillomavirus

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

34

ผศ.ดร. กนกวรรณ พุ่มพุทรา

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Development of a Thai Rapid, Sensitive and Economical Test for Detection of Listeria in food

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

35

ศ.ดร.วิฑูรย์ ไวยนันท์

คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล

การศึกษาเพื่อหาศักยภาพของแอนติเจนของพยาธิใบไม้ตับ (Fasciola gigantica) ในการใช้เป็นวัคซีนและปรับปรุงการตรวจวินิจฉัยโรค

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์

 

36

ศ.พญ.สุทธิพันธ์ สาระสมบัติ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล 

การผลิตโปรทีนแอนติเจนจำเพาะของเชื้อจุลชีพซาลโมเนลลี่ เพื่อการวินิจฉัยโรคไข้เอนเทอริค

ปิดโครงการโดยสมบูรณ์